Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67120
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิทวัส คำมูลen_US
dc.contributor.authorระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณีen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:32:27Z-
dc.date.available2020-04-02T14:32:27Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม 4, 2 (ม.ค.-มิ.ย. 2560), 23-49en_US
dc.identifier.issn2351-0935en_US
dc.identifier.urihttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/111289/86963en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67120-
dc.descriptionวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบันen_US
dc.description.abstractบทความนี้มุ่งศึกษารูปแบบของเรือนพื้นถิ่นไทลื้อ ผ่านกรณีศึกษาในพื้นที่พันนาเมืองอู สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและวิเคราะห์ภูมิปัญญาพื้นถิ่นจากวิจัยภาคสนามเกี่ยวกับเรือนพื้นถิ่นไทลื้อ เป็นฐานความรู้ในการศึกษาลักษณะเฉพาะของเรือนพื้นถิ่นไทลื้อพันนาเมืองอู โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ สังเกตและสัมภาษณ์ในประเด็นของลักษณะการตั้งถิ่นฐาน รูปแบบบ้านเรือนในเชิงรูปทรงทางกายภาพ โครงสร้างและวัสดุเรือน ผังพื้นและลำดับการเข้าถึงพื้นที่ วิถีชีวิตกับพื้นที่ใช้สอยในเรือน โดยสำรวจภาคสนามในพื้นที่พันนาเมืองอู รวมทั้งสิ้น 4 แอ่งที่ราบ 5 หมู่บ้าน 30 หลังคาเรือน บทความนี้ชี้ให้เห็นถึงลักษณะการปรับตัวของสถาปัตยกรรมเนื่องจากปัจจัยจากสภาพแวดล้อม สภาพภูมิอากาศ โลกทัศน์ ระบบความคิด ระบบสังคมและรูปแบบสถาปัตยกรรมเรือนพื้นถิ่นไทลื้อ เพื่อเป็นแนวทางในการอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่นไทลื้อให้มีความเหมาะสมกับรูปแบบวัฒนธรรมที่ผสมกลมกลืนและการดำรงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม และเพื่อศึกษารูปแบบเฉพาะที่โดดเด่นของเรือนไทลื้อในพันนาเมืองอู สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว This article explores the patterns of Tai Lue vernacular houses in Panna Muang Ou, Lao PDR. The objectives of the investigation are to study and analyze the wisdom in vernacular architecture of Tai Lue. The method of study is based on qualitative research methods consisting field survey in Panna Muang Ou. Observation and interviews were conducted in the issues of settlements, villages and houses, planing and spatial organization, way of life and use of domestic spaces. Altogether, 30 houses in 5 villages at 4 valleys were explored. The research indicates the characteristics and the adaptation of vernacular architecture due to influences of the physical environment, climate condition, worldview and social system on vernacular architecture. This can be used as appropriate guideline for conserving Tai Lue vernacular houses within the context of cultural assimilation in Panna Muang Ou, Laos PDR.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectไทลื้อen_US
dc.subjectเรือนพื้นถิ่นen_US
dc.subjectพันนาเมืองอูen_US
dc.titleรูปแบบของเรือนไทลื้อในพันนาเมืองอู สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวen_US
dc.title.alternativePatterns of Tai Lue vernacular houses in Panna Muang Ou, Laos PDRen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.