Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67068
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorรัดเกล้า เปรมประสิทธิen_US
dc.contributor.authorอัครพงศ์ อั้นทองen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T09:01:06Z-
dc.date.available2019-12-03T09:01:06Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.citationวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 20, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2562), 55-73en_US
dc.identifier.issn0859-8479en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/70224/59597en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67068-
dc.descriptionวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอผลการเปรียบเทียบสมรรถนะสุขภาวะในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยการทดลองใช้ตัวชี้วัดสุขภาวะในระดับอปท. ที่พัฒนาขึ้นภายใต้โครงการวิจัยการเปรียบเทียบสมรรถนะสุขภาวะและความอยู่ดีมีสุขในระดับอปท. จากตัวชี้วัด 10 ดัชนีย่อย ได้แก่ การดูแลสุขภาพ ความปลอดภัย การป้องกันภัยพิบัติ การจัดการสวัสดิการสังคม การเกษตรยั่งยืน การศึกษาและการเรียนรู้ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการสิ่งแวดล้อม การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม และด้านเศรษฐกิจ ทําการเก็บข้อมูลกับ อปท. ตัวอย่างพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง จํานวน 16 แห่ง ผลการศึกษา พบว่า อปท. ที่เป็นกรณีตัวอย่างส่วนใหญ่มีสุขภาวะที่ดีในระดับปานกลาง โดยมีการดําเนินงานที่โดดเด่นในเรื่องของความปลอดภัย เนื่องจากโดยส่วนใหญ่เป็น อปท. ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ชนบท และพื้นที่กึ่งเมือง-กึ่งชนบท ที่มีการตั้งบ้านเรือนอยู่ติดกัน และอาศัยอยู่กันอย่างญาติมิตร มีความเอื้ออาทรและช่วยเหลือซึ่งกันเมื่อประสบปัญหา ส่วนประเด็นท้าทายในการพัฒนาที่สําคัญ ได้แก่ การสนับสนุนการส่งเสริมการทําเกษตรอินทรีย์ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า การเปรียบเทียบสมรรถนะสขภาวะที่ดีระหว่าง อปท. เป็นแนวทางหนึ่งที่ใช้กระตุ้นให้ อปท. ค้นหา ปรับปรุง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้นวัตกรรมการดําเนินงานระหว่าง อปท. เพื่อนํามาสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและสร้างสุขภาวะที่ดีของชุมชนen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเกณฑ์มาตรฐานการวัดเปรียบเทียบสมรรถนะen_US
dc.subjectสุขภาวะen_US
dc.titleการเปรียบเทียบสมรรถนะสุขภาวะในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น:กรณีตัวอย่างพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeThe Well-being Benchmarking in Local Administration Organization: The Case Study of Lower Northern Areas in Thailanden_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.