Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67059
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorโศภิต ชีวะพานิชย์en_US
dc.date.accessioned2019-12-03T09:01:06Z-
dc.date.available2019-12-03T09:01:06Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.citationวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 9,2 (ก.ค.-ธ.ย.2560) 76-103en_US
dc.identifier.issn0125-4138en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/72955/58684en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67059-
dc.descriptionวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นวารสารวิชาการทางกฎหมายซึ่งตีพิมพ์บทความวิชาการและบทความวิจัยจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย จัดพิมพ์ราย 6 เดือน ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 เดือน กรกฏาคม – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractผู้อพยพชาวโรฮิงญาที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยอย่างผิดกฎหมายโดยมีผู้นำพาเข้ามา เมื่อปรากฏเงื่อนไขอันอาจพิจารณาได้ว่าเป็นองค์ประกอบของความผิดฐานค้ามนุษย์เกิดขึ้นในระหว่างการเดินทางนั้น อาจทำให้การลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่นดังกล่าวเป็นการค้ามนุษย์ได้ อย่างไรก็ตามปัญหาประการหนึ่งเกิดขึ้นใน การบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ คือ ปัญหาการตีความองค์ประกอบของความผิดฐานค้ามนุษย์โดยเฉพาะในส่วนของการแสวงหาประโยชน์จากเหยื่อการค้ามนุษย์ บทความชิ้นนี้มุ่งศึกษาแนวทางการตีความการแสวงหาประโยชน์จากเหยื่อการค้ามนุษย์ในกลุ่มผู้อพยพชาวโรฮิงญาในประเทศไทย โดยจะเน้นที่ลักษณะการขูดรีด การเอาคนลงเป็นทาส และแรงงานบังคับen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการแสวงหาประโยชน์en_US
dc.subjectโรฮิงญาen_US
dc.subjectค้ามนุษย์en_US
dc.subjectลักลอบเข้าเมืองen_US
dc.titleปัญหาการตีความ “การแสวงหาประโยชน์” ในความผิดฐาน ค้ามนุษย์ กรณีกลุ่มผู้อพยพชาวโรฮิงญาในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeProblems in the Interpretation of ‘Exploitation’ in the Trafficking Case of Rohingya Migrants in Thailanden_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.