Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67057
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเสาวณีย์ แก้วจุลกาญจน์en_US
dc.contributor.authorวิศรุต สำลีอ่อนen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T09:01:06Z-
dc.date.available2019-12-03T09:01:06Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.citationวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 9,2 (ก.ค.-ธ.ย.2560) 104-135en_US
dc.identifier.issn0125-4138en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/72963/58689en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67057-
dc.descriptionวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นวารสารวิชาการทางกฎหมายซึ่งตีพิมพ์บทความวิชาการและบทความวิจัยจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย จัดพิมพ์ราย 6 เดือน ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 เดือน กรกฏาคม – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractภายหลังจากพระราชบัญญัติสัญชาติ(ฉบับที่ 5) พ.ศ.2555 มีผลใช้บังคับ อาจกล่าวได้ว่าเหตุการณ์ดังกล่าวถือได้ว่าเป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญต่อกลุ่มประชากรกลุ่มคนไทยพลัดถิ่นได้ เนื่องจากได้มีการวางหลักการพิสูจน์และคืนสัญชาติไทยให้คนไทยพลัดถิ่นแต่อย่างไรก็ตามอาจกล่าวได้ว่าการบังคับใช้พระราชบัญญัติดังกล่าวยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากปัญหาการขาดความเป็นเอกภาพในตัวเอกสารพิสูจน์ตัวบุคคล ( ป.ค. 14) และภาครัฐประสบปัญหาการขาดแคลนบุคลากร ประกอบกับเจตคติในเรื่องความมั่นคงของหน่วยงานภาครัฐต่อกลุ่มประชากรคนไทยพลัดถิ่นซึ่งจากปัญหาดังกล่าวเอง นำไปสู่การจัดทำบันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านการพิสูจน์สัญชาติและรับรองความเป็นคนไทยพลัดถิ่นระหว่างกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยกับมหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยรังสิต สำนักงานประสานการพัฒนาสังคมสุขภาวะ (สปพส.) มูลนิธิชุมชนไท (มชท.) และสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (สำนักงาน กสม.) ลงวันที่ 16มกราคม 2559 จากบันทึกข้อตกลงดังกล่าวก่อให้เกิดโครงการ“การช่วยเหลือประชาชนผู้ด้อยโอกาสทีมีปัญหาเกี่ยวกับสถานะบุคคล (คนไทยพลัดถิ่น)” โดยคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ รับผิดชอบในการช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกให้กับเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองในการยื่นคำร้องและการรวบรวมพยานหลักฐานเรื่องการพิสูจน์สัญชาติแก่กลุ่มคนไทยพลัดถิ่นในพื้นที่จังหวัดระนองขณะที่พื้นที่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยรังสิตคือพื้นที่ในบริเวณจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผลการลงนามผ่านความร่วมมือดังกล่าวแม้ว่าจะก่อให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติหลายประการไม่ว่าจะเป็นปัญหาเรื่อง 1) ปัญหาด้านแบบฟอร์มเรื่องการพิสูจน์และรับรองความเป็นคนไทยพลัดถิ่นที่ไม่มีเอกภาพ 2) ปัญหาความต่อเนื่องของบุคลากรในการปฏิบัติหน้าที่ประจำท้องที่ 3) ปัญหาเรื่องทัศนคติของเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่ต่อนิสิตนักศึกษาที่เข้าไปช่วยเหลืองาน แต่อย่างไรก็ดีการลงนามในบันทึกข้อตกลงดังกล่าวก่อให้เกิดผลดีหลายประการ เช่น ก่อให้เกิดการทำงานที่ประสานกันระหว่างภาคีเครือข่ายส่งผลให้การแก้ปัญหาพิสูจน์และรับรองสัญชาติคนไทยพลัดถิ่นมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นก่อให้เกิดการลดภาระการทำงานของเจ้าหน้าที่ นอกจากนี้ก่อให้เกิดกระบวนการสร้างจิตอาสาให้กับนิสิตและนักศึกษาในการเข้าใจและเห็นอกเห็นใจในเพื่อนมนุษย์มากขึ้นen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectคนไทยพลัดถิ่นen_US
dc.subjectกระบวนการพิสูจน์สัญชาติen_US
dc.subjectพระราชบัญญัติสัญชาติen_US
dc.titleการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่คนไทยพลัดถิ่น ผ่านความร่วมมือพหุภาคีระหว่างภาครัฐ องค์กรวิชาการและภาคประชาสังคม : กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดระนองและประจวบคีรีขันธ์en_US
dc.title.alternativeLagal Aid for Thai Displaced People throgh Multilateral Cooperation Between State Organs, Academic Institutes and Civil Societies: study on Ranong and Prachuap Khiri Khan Provincesen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.