Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67048
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปีดิเทพ อยู่ยืนยงen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T09:01:06Z-
dc.date.available2019-12-03T09:01:06Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 10,1 (ม.ค.-มิ.ย.2560) 39-62en_US
dc.identifier.issn0125-4138en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/92161/72244en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67048-
dc.descriptionวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นวารสารวิชาการทางกฎหมายซึ่งตีพิมพ์บทความวิชาการและบทความวิจัยจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย จัดพิมพ์ราย 6 เดือน ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 เดือน กรกฏาคม – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractแม้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายฝ่ายต่างเห็นพ้องต้องกันถึงความสำคัญของวัฏจักรความสว่างในเวลากลางวันและความมืดในเวลากลางคืนตามธรรมชาติ ที่สามารถช่วยสร้างสมดุลระบบนิเวศในเวลากลางคืนได้ หากแต่การใช้งานแสงสว่างผิดสถานที่ผิดเวลาก็สามารถก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมได้ ผลจากการเพิ่มจำนวนแสงสว่างภายนอกอาคารที่มากขึ้นช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาของประเทศต่างๆ ในอาเซียน ก่อให้เกิดปริมาณแสงจากแหล่งกำเนิดที่มากจนเกินไปและเป็นบ่อเกิดของแสงที่ส่องรุกล้ำไปยังพื้นที่ที่ไม่ต้องการใช้งานแสงสว่าง ซึ่งภาวะเช่นว่านี้เองเกี่ยวพันกับการบริโภคพลังงานที่มากจนเกินจำเป็น อันเนื่องมาจากการติดตั้งไฟส่องสว่างภายนอกอาคารเป็นจำนวนมหาศาล ความสว่างบนท้องฟ้าอันเนื่องมาจากการใช้งานแสงสว่างจากหลอดไฟฟ้าหรือโคมไฟภายนอกอาคารของมหานครขนาดใหญ่ในภูมิภาคอาเซียนยังมีปริมาณที่สูงและอาจสร้างปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพความมืดมิดของท้องฟ้าในยามค่ำคืนกับปัญหาคุณภาพของสภาวะแวดล้อมยามค่ำคืน สัดส่วนของประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนเมืองของภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณพื้นที่ใจกลางเมืองที่ซึ่งมีการใช้งานแสงสว่างภายนอกอาคารที่เกินไปกว่ามาตรฐานคุณภาพสภาวะแวดล้อมที่ดีในยามค่ำคืน ก็อาจเป็นสาเหตุทำให้เกิดความเสี่ยงที่จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในขณะที่แสงที่เป็นมลภาวะได้ถูกปล่อยออกมาจากบริเวณพื้นที่หนึ่งพื้นที่ใดและอาจเดินทางพุ่งตรงไปบนชั้นบรรยากาศ จนก่อให้เกิดการสูญเสียคุณภาพความมืดมิดบนท้องฟ้าตามธรรมชาติ ถึงกระนั้นก็ตามกฎหมายของรัฐสมาชิกอาเซียนยังไม่ได้ถูกออกแบบมาเป็นการเฉพาะ เพื่อรองรับกับผลกระทบในด้านลบของมลภาวะทางแสงจากการติดตั้งไฟส่องสว่างภายนอกอาคาร บทความฉบับนี้ประสงค์ที่จะสร้างความตระหนักทางกฎหมายระดับภูมิภาคอาเซียน จากหลายมุมมองและหลากความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติของท้องฟ้าที่มืดมิดในยามค่ำคืนและสภาวะแวดล้อมที่ดีในยามค่ำคืนen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอาเซียนen_US
dc.subjectมลภาวะทางแสงบนชั้นแสงบนชั้นบรรยากาศen_US
dc.subjectแสงเรืองไปบนท้องฟ้าen_US
dc.subjectสภาวะแวดล้อมยามค่ำคืนen_US
dc.subjectระบบนิเวศในเวลากลางคืนen_US
dc.subjectกฎหมายสิ่งแวดล้อมen_US
dc.titleกลางคืนที่หายไปในอาเซียนen_US
dc.title.alternativeLoss of the Night in ASEAN Regional Countriesen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.