Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67005
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจิรวรรณ ชาติพิทักษ์en_US
dc.contributor.authorณัฐวิทย์ พรหมมาen_US
dc.contributor.authorธีระวัฒน์ โชติกเสถียรen_US
dc.contributor.authorจรรยา อภิสริยะกุลen_US
dc.contributor.authorวิกันดา เขมาลีลากุลen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T08:56:55Z-
dc.date.available2019-12-03T08:56:55Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 40,2 (พ.ค.-ส.ค. 2562) 39-50en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2562_40_2_512.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67005-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความต้านทานเสียดทานที่เกิดจากแบร็กเกตชนิดมัดในตัว และแบร็กเกตแบบมาตรฐานที่มัดด้วยตัวมัด 5 แบบ มัดลวดเหล็กกล้าไร้สนิมแบบเส้นตรงขนาด 0.021×0.025 นิ้ว เข้ากับแบร็กเกตซี่ฟันกรามน้อยบนที่มีร่องแบร็กเกตขนาด 0.022 นิ้ว และใช้การมัดลวดเป็น 6 วิธี โดยมี 10 ตัวอย่างต่อหนึ่งกลุ่มทดลอง ในกลุ่มทดลองที่ 1 ถึง 5 ใช้แบร็กเกตมาตรฐานที่มัดด้วยตัวมัดลวด 5 ชนิด คือ 1) ลวดเหล็กกล้าไร้สนิม ขนาด 0.010 นิ้ว 2) ยางมัดลวดมาตรฐาน 3) ยางมัดลวดเคลือบพอลิเมอร์ 4) ยางมัดลวดแรงเสียดทานน้อย และ 5) ตัวมัดลวดแรงเสียดทานน้อย ตามล าดับ ส่วนกลุ่มที่ 6 ใช้แบร็กเกตเหล็กกล้าไร้สนิมชนิดมัดในตัวแบบไร้แรงวัดค่าแรงเสียดทานโดยใช้เครื่องทดสอบวัสดุอเนกประสงค์ นำข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติด้วยการจำแนกความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบเชิงซ้อนด้วยสถิติชนิดดันเนต ที่มีนัยสำคัญน้อยกว่า 0.05 ผลการวิจัยพบว่ายางมัดลวดเคลือบพอลิเมอร์ทำให้เกิดแรงเสียดทานมากสุด ส่วนตัวมัดลวดแรงเสียดทานน้อยเกิดแรงเสียดทานน้อยที่สุด และไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเปรียบเทียบกับลวดเหล็กกล้าไร้สนิม ยางมัดลวดแรงเสียดทานน้อยและแบร็กเกตชนิดมัดในตัว แต่พบว่าแรงเสียดทานมีค่าน้อยกว่าแรงเสียดทานที่เกิดจากยางมัดลวดมาตรฐานและยางมัดลวดเคลือบพอลิเมอร์อย่างมีนัยสำคัญ สรุปได้ว่าตัวมัดลวดที่ออกแบบให้เป็นท่อได้แก่ ยางมัดลวดแรงเสียดทานน้อย ตัวมัดลวดแรงเสียดทานน้อยและแบร็กเกตชนิดมัดในตัว ทำให้เกิดแรงเสียดทานน้อยกว่ายางมัดลวดมาตรฐานและยางมัดลวดเคลือบพอลิเมอรen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแรงเสียดทานทางทันตกรรมจัดฟันen_US
dc.subjectตัวมัดen_US
dc.subjectแบร็กเกตen_US
dc.titleการเปรียบเทียบความต้านทานเสียดทานที่เกิดจากแบร็กเกตชนิดมัดในตัวและแบร็กเกตมาตรฐานที่มัดด้วยตัวมัดหลายแบบen_US
dc.title.alternativeComparison of Frictional Resistance Produced by Self-ligating Brackets and Conventional Brackets Ligated with Various Types of Ligatureen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.