Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66983
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorคมกริช วงศ์แขen_US
dc.contributor.authorปัญญ์ขวัญ สิทธิถวัลย์en_US
dc.contributor.authorจริยา ศรีทองแดงen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T08:56:55Z-
dc.date.available2019-12-03T08:56:55Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 21, 1 (ม.ค.-ก.ค. 2560), 105-125en_US
dc.identifier.issn0859-8479en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/72540/71763en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66983-
dc.descriptionวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการen_US
dc.description.abstractบทความวิชาการเป็นการศึกษาที่ทำการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งแบบเฉพาะเจาะจง และวารสารวิชาการเป็นแหล่งรวบรวมบทความที่มีการศึกษารูปแบบคล้ายกันมาไว้ในวารสารเล่มหนึ่ง โดยการวัดความนิยมของบทความและวารสาร คือ บทความจะถูกวัดจากจำนวนการถูกอ้างอิง (Citation) และวารสารจะถูกวัดจากดัชนีผลกระทบการอ้างอิงวารสาร (Journal Impact Factor : JIF) การศึกษาปัจจัยทั่วไปที่ทำให้บทความและวารสารได้รับความนิยมจึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจ บทความนี้แบ่งเป็น 2 แบบจำลอง คือแบบจำลองสำหรับบทความที่ใช้ข้อมูลจากปี 1992–2016 และแบบจำลองการอ้างอิงวารสารที่ใช้ข้อมูลจากปี 1990- 2016 จำนวน 100 ตัวอย่าง ทั้งสองแบบจำลองผลการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อจำนวนการถูกอ้างอิง พบว่าจำนวนหน้า จำนวนครั้งในการดาวน์โหลด จำนวนเอกสารอ้างอิง และอายุของบทความส่งผลในทิศทางเดียวกันกับ จำนวนการถูกอ้างอิง ส่วนจำนวนผู้แต่งมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงข้าม และการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อดัชนีผลกระทบการอ้างอิงวารสาร พบว่าจำนวนบทความทั้งหมดที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนั้น และจำนวนฉบับของวารสารทั้งหมดมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับดัชนีผลกระทบการอ้างอิงวารสาร ในขณะที่จำนวนฉบับของวารสารในช่วงเวลา 1 ปีมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงข้าม การศึกษาในครั้งนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมให้เกิดประโยชน์ต่อการสร้างผลงานทางวิชาการen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแบบจำลองทางเศรษฐมิติen_US
dc.subjectการถูกอ้างอิงของบทความen_US
dc.subjectดัชนีผลกระทบการอ้างอิงวารสารen_US
dc.titleแบบจำลองการถดถอยของจำนวนการถูกอ้างอิง และดัชนีผลกระทบการอ้างอิงวารสารen_US
dc.title.alternativeREGRESSION MODEL OF CITATION AND JOURNAL IMPACT FACTORen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.