Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66974
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อัครพงศ์ อั้นทอง | en_US |
dc.contributor.author | กันต์สินี กันทะวงศ์วาร | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-12-03T08:56:55Z | - |
dc.date.available | 2019-12-03T08:56:55Z | - |
dc.date.issued | 2562 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 23, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 65-94 | en_US |
dc.identifier.issn | 0859-8479 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/188952/148258 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66974 | - |
dc.description | วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการ | en_US |
dc.description.abstract | บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินความได้เปรียบและตำแหน่งความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของไทยเมื่อเทียบกับคู่แข่งในอาเซียน และ 2) วิเคราะห์สถานการณ์แนวโน้มตลาดและโอกาสของการท่องเที่ยวไทยในตลาดนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่สำคัญ หลังการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการตลาดนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติและสถานการณ์ความวุ่นวายภายในประเทศไทย โดยประยุกต์ใช้อัตราส่วนความได้เปรียบในการแข่งขันทั้งในเชิงสถิตและพลวัต และประยุกต์ใช้ Shift-share analysis (SSA) เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลในช่วงปี พ.ศ. 2552-2555 (หลังการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างตลาด) และ พ.ศ. 2558-2560 (หลังการรัฐประหาร) ผลการศึกษา พบว่า ตลาดอาเซียนยังคงเป็นตลาดที่ไทยไม่มีความได้เปรียบในการแข่งขัน ส่วนตลาดยุโรปเป็นตลาดเดียวที่ไทยและอาเซียนต่างก็มีความสามารถในการดึงดูดลดลง ขณะที่ตลาดจีนเป็นตลาดที่ไทยมีความสามารถในการดึงดูดน้อยกว่าอาเซียน สำหรับรัสเซียและอินเดียเป็นสองตลาดที่ไทยมีความสามารถในการดึงดูดมากกว่าอาเซียน การขยายตัวของตลาดหลักที่สำคัญในช่วงปี พ.ศ. 2558-2560 ได้รับอนิสงส์จากปัจจัยที่แตกต่างกัน ทั้งจากความสามารถในการดึงดูดร่วมกันของอาเซียน และจาก ความชำนาญพิเศษและความสามารถในการแข่งขันของไทย นอกจากนี้ ตลาดหลักที่สำคัญแต่ละตลาดมีแนวโน้มสถานการณ์ตลาดแตกต่างกัน ดังนั้นจึงควรใช้กลยุทธ์การตลาดที่แตกต่างกัน โดยตลาดยุโรป รัสเซีย และอินเดีย เป็นสามตลาดที่ไทยไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนกลยุทธ์การตลาด ส่วนตลาดอาเซียนเป็นตลาดที่ไทยควรทุ่มเทความสนใจให้มากขึ้นเพื่อสร้างความชำนาญพิเศษ สำหรับตลาดจีนเป็นตลาดที่ไทย ควรให้ความสำคัญต่อไปเพื่อยกระดับความได้เปรียบในการแข่งขัน จากผลการศึกษามีข้อเสนอแนะที่สำคัญว่า ไทยควรใช้นโยบายทางการตลาดที่แตกต่างกันตามกลุ่มตลาดและพลวัตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยควรมีการติดตามและวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขันและความชำนาญพิเศษของตัวเองในแต่ละตลาดอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถดำเนินนโยบายที่สอดคล้องและทันท่วงทีกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การท่องเที่ยวไทย | en_US |
dc.subject | ความได้เปรียบในการแข่งขัน | en_US |
dc.subject | ความสามารถในการแข่งขัน | en_US |
dc.subject | ตลาดนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ | en_US |
dc.title | การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างตลาดและโอกาสของการท่องเที่ยวไทยในตลาดนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติสำคัญ | en_US |
dc.title.alternative | Changes in the Market Structure and Opportunities of Thai Tourism in the Main Foreign Tourist Markets | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.