Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66966
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอัสมา โมราen_US
dc.contributor.authorยุทธนา เศรษฐปราโมทย์en_US
dc.date.accessioned2019-12-03T08:56:55Z-
dc.date.available2019-12-03T08:56:55Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 23, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 1-26en_US
dc.identifier.issn0859-8479en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/179619/148254en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66966-
dc.descriptionวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการen_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบการส่งผ่านผลกระทบของความเสี่ยงจากต่างประเทศในรูปของความไม่แน่นอนของนโยบายเศรษฐกิจ ที่มีต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยวิเคราะห์ทั้งในระดับดัชนีตลาดหลักทรัพย์โดยรวมและดัชนีรายอุตสาหกรรม ผลการศึกษา ในช่วงก่อนปี 2553 พบว่าดัชนีความไม่แน่นอนทางนโยบายเศรษฐกิจและดัชนีความกลัว (VIX) สามารถอธิบายการส่งผ่านผลกระทบจากต่างประเทศมายังผลตอบแทนการลงทุนในไทยได้อย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติ อย่างไรก็ตาม ในช่วงหลังปี 2553 ชึ่งธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาเริ่มใช้นโยบายผ่อนคลายทางการเงินเชิงปริมาณ (QE : Quantitative Easing) ทำให้ดัชนีความกลัวปรับตัวลดลงสวนทางกับดัชนีความไม่แน่นอนทางนโยบายเศรษฐกิจที่ยังคงมีค่าที่สูงตามความเสี่ยงทางการเมืองทั้งในสหรัฐฯ และสหภาพยุโรป ในช่วงนี้ ดัชนีความกลัวเป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลกระทบมายังตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทั้งต่อผลตอบแทนและความผันผวนของตลาดหลักทรัพย์ ส่วนดัชนีความไม่แน่นอนของนโยบายเศรษฐกิจไม่ส่งผลต่อผลตอบแทนตลาดฯ อย่างมีนัยยะสำคัญในช่วงนี้ ผลการศึกษาแสดงถึงว่าดัชนีความกลัว (VIX) เป็นตัวแปรสำคัญในการจับตาการส่งผ่านผลกระทบมายังตลาดหลักทรัพย์ในประเทศไทย ส่วนดัชนีความไม่แน่นอนทางนโยบายเศรษฐกิจโลก มีบทบาทเสริมในการอธิบายการส่งผ่านผลกระทบเช่นเดียวกัน แต่จะส่งผลเสริมกับดัชนีความกลัวในช่วงที่ตัวแปรทั้งคู่ปรับตัวไปพร้อมกัน เมื่อพิจารณาผลในรายอุตสาหกรรมพบว่า ดัชนีในกลุ่มทรัพยากร มีการส่งผ่านผลกระทบจากต่างประเทศทั้งจากดัชนีความกลัวและดัชนีความไม่แน่นอนทางนโยบายเศรษฐกิจชัดเจนที่สุดen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความไม่แน่นอนของนโยบายเศรษฐกิจโลกen_US
dc.subjectการส่งผ่านผลกระทบระหว่างประเทศen_US
dc.subjectตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยen_US
dc.titleการส่งผ่านผลกระทบจากความไม่แน่นอนของนโยบายเศรษฐกิจต่างประเทศต่อตลาดหลักทรัพย์ในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeSpillover Effects of Global Financial Uncertainty and Economic Policy Uncertainty on Stock Exchange of Thailanden_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.