Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66965
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอัญชลี ทองกำเหนิดen_US
dc.contributor.authorลี่ลี อิงศรีสว่างen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.available2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.issued2554en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 27, 1 (ก.พ. 2554), 77-85en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00111_C00776.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66965-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractเก็บข้อมูลจากสุกรลูกผสม (แลนด์เรซ x ลาร์จไวท์ x ดูร็อกเจอร์ซี) จำนวน 173 ตัว โดยเก็บ 4 ครั้งห่างกันทุก 2 สัปดาห์ ตั้งแต่สุกรมีอายุ 64 ถึง 70 สัปดาห์ ตัวแปรตามได้แก่น้ำหนักมีชีวิตของสุกร (live- weight) ตัวแปรอิสระจำนวน 6 ตัวแปร ได้แก่ ความยาวรอบอก (L1, เซนติเมตร) , ความยาวลำตัว (L2, เซนติเมตร), อายุ (age, สัปดาห์), ความกว้างไหล่ (W1, เซนติเมตร) , ความกว้างสะโพก (W2, เซนติเมตร) และ ความกว้างเอว (W3, เซนติเมตร) สร้างตัวแบบสมการถดถอยเพื่อใช้ทำนายน้ำหนักมีชีวิตของสุกร ใช้สมการการประมาณค่าวางนัยทั่วไป (generalized estimating equations) เปรียบเทียบกับตัวแบบเชิงเส้นผสม (linear mixed effect model) ผลการศึกษาพบว่า กรณีใช้สมการการประมาณค่าวางนัยทั่วไป ค่าคงที่ (intercept) และตัวแปรอิสระ (L1) (L2) และ (W2 ) ส่งผลต่อค่าเฉลี่ยของน้ำหนักมีชีวิตของสุกรลูกผสมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยตัวแบบที่เหมาะสมเมื่อพิจารณาจากค่า mean deviance , Pearson chi – square/df และ residual plot เฉพาะกรณี empirical standard error estimates และกำหนดโครงสร้างของความสัมพันธ์เป็นแบบ AR(1) สมการ คือ กรณีใช้ตัวแบบเชิงเส้นผสมที่มีอิทธิพลสุ่มได้แก่ random intercept และประมาณค่าพารามิเตอร์โดยใช้วิธี residual maximum likelihood (REML) พบว่า ให้ผลที่ใกล้เคียงกับการประมาณค่าวางนัยทั่วไป โดยตัวแบบการถดถอยในส่วนของอิทธิพลคงที่อยู่ในรูปแบบ และเนื่องจากความแปรปรวนสุ่ม Var( ) ของสุกรลูกผสมแต่ละตัวไม่แตกต่างกัน จึงสามารถใช้สมการนี้ทำนายน้ำหนักของสุกรแต่ละตัวได้ด้วยen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสมการทำนายน้ำหนักมีชีวิตของสุกรen_US
dc.subjectการประมาณค่าวางนัยทั่วไปen_US
dc.subjectตัวแบบเชิงเส้นผสมen_US
dc.titleสมการทำนายน้ำหนักมีชีวิตของสุกรลูกผสมโดยใช้การประมาณค่าวางนัยทั่วไป เทียบกับตัวแบบเชิงเส้นen_US
dc.title.alternativePredicted Equation in Live -Weight of Crossbred Swine Using Generalized Estimating Equation and Linear Mixed Effect Modelen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.