Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66949
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธวัชชัย อินทร์บุญช่วยen_US
dc.contributor.authorบุณฑริก ฉิมชาติen_US
dc.contributor.authorจุฑารัตน์ มนูญโยen_US
dc.contributor.authorศิริสุดา บุตรเพชรen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.available2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 35, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562), 447-459en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/216157/150725en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66949-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractศึกษาการประเมินการกร่อนดินและการสูญเสียธาตุอาหารภายใต้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ใน อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มบล็อกสมบูรณ์ (RCBD) จำนวน 4 ซ้ำ 7 ตำรับการทดลอง พบว่า ความหนาแน่นรวมของดินและค่าสัมประสิทธิ์การนำน้ำที่อิ่มตัวด้วยน้ำทุกตำรับการทดลองไม่มีความแตกต่างทางสถิติ การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับการปลูกถั่วเหลือง หญ้าแฝก และปุ๋ยชีวภาพไมคอร์ไรซา ส่งผลให้ค่าความจุน้ำใช้ประโยชน์ได้มีค่าสูงที่สุด (14.92%) ขณะที่วิธีปฏิบัติของเกษตรกรมีค่าต่ำที่สุด (7.49%) การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับการปลูกถั่วเหลือง หญ้าแฝกและปุ๋ยชีวภาพไมคอร์ไรซา ส่งผลให้มีปริมาณน้ำไหลบ่า (22.75 ลูกบาศก์เมตร/ไร่) ตะกอน (0.15 ตัน/ไร่) และการสูญเสียธาตุอาหารต่ำที่สุด (N = 0.011 P = 0.0039 และ K = 0.0046 กิโลกรัม/ไร่) มูลค่าการสูญเสียทางเศรษฐศาสตร์จากการกร่อนดินพบว่าวิธีปฏิบัติของเกษตรกรมีการสูญเสียสูงที่สุด (20.98 บาท/ไร่/ฤดูปลูก) ด้านผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พบว่า การใส่ปุ๋ยเคมีร่วมกับการปลูกถั่วเหลือง หญ้าแฝก และใส่ปุ๋ยชีวภาพไมคอร์ไรซามีผลให้น้ำหนักฝัก (668.42 กิโลกรัม/ไร่) เปลือก (117.33 กิโลกรัม/ไร่) ซัง (88.89 กิโลกรัม/ไร่) เมล็ด (579.11 กิโลกรัม/ไร่) และความเข้มข้นของธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมที่สะสมอยู่ในลำต้น (1.83 0.26 และ 0.41%) ใบ (1.16 0.34 และ 0.55%) เปลือก (0.55 0.34 และ 0.31%) ซัง (0.93 0.18 และ 0.35%) และเมล็ด (1.47 0.84 และ 0.33%) ของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์สูงที่สุด นอกจากนี้ การใส่ปุ๋ยเคมีร่วมกับการอนุรักษ์ดินแบบต่าง ๆ มีผลให้ปริมาณอินทรียวัตถุในดินและธาตุอาหารพืชที่เป็นประโยชน์สูงกว่าวิธีปฏิบัติของเกษตรกร ดังนั้น การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ภายใต้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำบนพื้นที่ดอนสามารถลดการกร่อนดินและการสูญเสียธาตุอาหารได้en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการกร่อนen_US
dc.subjectการอนุรักษ์ดินen_US
dc.subjectมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์en_US
dc.subjectข้าวโพดเลี้ยงสัตว์en_US
dc.subjectดินดอนen_US
dc.titleการประเมินการกร่อนดินและการสูญเสียธาตุอาหารภายใต้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้าในพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อาเภอเขาสวนกวางจังหวัดขอนแก่en_US
dc.title.alternativeAssessingSoilErosion and Nutrient Losses Under Soil and Water Conservation Measuresin Maize Plantation,Khao Suan KwangDistrict, Khon KaenProvinceen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.