Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66948
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอารีรัตน์ นิรันต์สิทธิรัชต์en_US
dc.contributor.authorดนุพงษ์ ชัยอริยะกุลen_US
dc.contributor.authorฐิรไชยวัฒน์ พันธ์กุลen_US
dc.contributor.authorณฐเสฏฐ์ ตงกิจเจริญen_US
dc.contributor.authorชำนาญวิทย์ ศุภกลาปen_US
dc.contributor.authorกีรติ วิริยางกูรen_US
dc.contributor.authorธนพล วิจิตรตระการกุลen_US
dc.contributor.authorปิ่นปินัทธ์ วณิชย์สายทองen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.available2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 40,1 (ม.ค.-เม.ย. 2562) 113-126en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2562_40_1_508.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66948-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการสํารวจความเห็นและการตัดสินใจต่อราคาขายสูงสุดที่จะไม่เลือกซื้อเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบ (sugar-sweetened beverages: SSBs) เพื่อหาส่วนต่างของราคาขายปลีกในท่องตลาดกับราคาสูงสุดที่ผู้บริโภคยอมจ่ายเพื่อซื้อ SSBs ทําการศึกษาในนักเรียนมัธยมศึกษา อ.เมือง จ.เชียงใหม่ เลือกกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 680 คน จากนักเรียน 32,806 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิจําแนกตามชนิดและขนาดโรงเรียนเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามร่วมกับจัดแสดงเครื่องดื่มเพื่อให้ผู้ตอบได้พิจารณาชนิด ขนาดและบรรจุภัณฑ์ได้ถูกต้องมากขึ้นได้รับแบบสอบถามคืนจากนักเรียน 648 คน (ร้อยละ 95.3) อายุเฉลี่ย 14.80±1.52 ปี ร้อยละ 60.4 ของนักเรียนได้รับเงินจากผู้ปกครองอย่างน้อย 500 บาทต่อสัปดาห์ ใช้ซื้อ SSBs 112 บาท (เฉลี่ย 15.11 บาท/วัน) ร้อยละ 34.6 บริโภค SSBs 5 ครั้ง/สัปดาห์หรือมากกว่า และร้อยละ 17.6 บริโภคทุกวัน จากการเก็บข้อมูล SSBs 104 ชนิด พบว่านักเรียนตัดสินใจไม่ซื้อ SSBs เมื่อราคาเครื่องดื่มเพิ่มขึ้น 1.18-3.29 บาท และในส่วนใหญ่ของสินค้าที่สํารวจ ส่วนต่างราคาที่ส่งผลต่อการไม่ซื้อ SSBs คือมากกว่า 3 บาทขึ้นไป ราคาขายปลีกในท่องตลาดเป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อการตัดสินใจen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเครื่องดื่มที่มีน้ําตาลเป็นส่วนประกอบen_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen_US
dc.subjectราคาen_US
dc.subjectภาษีen_US
dc.titleราคาที่ส่งผลต่อการเลือกซื้อเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบของเด็กมัธยมศึกษาen_US
dc.title.alternativePrice Points That Effect on Purchase of Sugar-Sweetened Beverages in Secondary School Studentsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.