Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66944
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุชาดา หลิมศิริวงษ์en_US
dc.contributor.authorวิกันดา เขมาลีลากุลen_US
dc.contributor.authorสุภัสสรา ศิรบรรจงกรานen_US
dc.contributor.authorปฏิยุทธ ศรีวิลาศen_US
dc.contributor.authorธีระวัฒน์ โชติกเสถียรen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.available2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 40,1 (ม.ค.-เม.ย. 2562) 57-65en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2562_40_1_504.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66944-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบพื้นที่ผิวรากฟันของฟันแท้ในขากรรไกรบนในผู้ป่วยไทยที่มีรูปแบบความสัมพันธ์ของกระดูกขากรรไกรแบบที่ 1 (Class I) และแบบที่ 2 (Class II) โดยใช้ภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี (Cone-beam computed tomography) วัสดุและวิธีการ: คัดเลือกภาพภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี ก่อนการจัดฟันของผู้ป่วยไทยที่มีรูปแบบความสัมพันธ์ของกระดูกขากรรไกรแบบที่ 1 และแบบที่ 2 จํานวน 30 คน ฟันในขากรรไกรบนจากฟันตัดซี่กลางถึงฟันกรามซี่ที่สองทั้งสองข้างถูกเลือกเพื่อระบุขอบเขตและสร้างโครงร่างของตัวฟันและรากฟันทั้ง 3 มิติ มีการระบุและทําเครื่องหมายบริเวณรอยต่อเคลือบฟันและเคลือบรากฟัน (cement-enamel junction) พื้นที่ที่อยู่ใต้รอยต่อเคลือบฟันและเคลือบรากฟันไปจนถึงปลายรากฟันจะถูกวัดเป็นพื้นที่ผิวรากฟัน ข้อมูลที่ได้ถูกนําไปวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษา: พื้นที่ผิวรากฟันโดยเฉลี่ยของฟันแท้ในขากรรไกรบนแต่ละซี่จากฟันตัดซี่กลางถึงฟันกรามซี่ที่สอง ในผู้ป่วยที่มีความสัมพันธ์ของกระดูกขากรรไกรแบบที่ 1 เท่ากับ 208.51, 193.87, 275.54, 258.70, 233.35, 447.41 และ 386.26 ตารางมิลลิเมตรตามลําดับ และ 203.55, 191.16, 262.44, 236.47, 227.91, 408.38 และ 351.70 ตารางมิลลิเมตรตามลําดับในผู้ป่วยที่มีความสัมพันธ์ของกระดูกขากรรไกรแบบที่ 2 สรุป: จากภาพรังสีโคมบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟีพื้นที่ผิวรากฟันของฟันกรามน้อยบนซี่ที่หนึ่ง ฟันกรามบนซี่ที่หนึ่ง และฟันกรามบนซี่ที่สอง ในผู้ป่วยที่มีความสัมพันธ์ของกระดูกขากรรไกรแบบที่ 2 มีค่าน้อยกว่าอย่างมีนัยสําคัญเมื่อเทียบกับกลุ่มที่มีความสัมพันธ์ของกระดูกขากรรไกรแบบที่ 1en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectมนุษย์en_US
dc.subjectรากฟันen_US
dc.subjectโคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟีen_US
dc.subjectขากรรไกรบนen_US
dc.titleการเปรียบเทียบพื้นที่ผิวรากฟันของผู้ป่วยไทยที่มีความสัมพันธ์ของกระดูกขากรรไกรแบบที่ 1 (Class I) และแบบที่ 2 (Class II) โดยใช้ภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟีen_US
dc.title.alternativeComparison of Maxillary Root Surface Areas in Thai Patients with Class I and Class II Skeletal Patterns Using Cone-beam Computed Tomographyen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.