Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66943
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปฐมาภรณ์ มาสุดen_US
dc.contributor.authorศันสนีย์ จำจดen_US
dc.contributor.authorต่อนภา ผุสดีen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.available2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 35, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562), 401-411en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/215947/150720en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66943-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractข้าวป่าสามัญเป็นแหล่งพันธุกรรมที่มีความสำคัญ เนื่องจากมีความสามารถในการปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม เช่น น้ำท่วม หรือแห้งแล้ง เป็นต้น ดังนั้นการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความสามารถในการยืดปล้องและการแสดงออกของยีน SK2 ในข้าวป่าลำพูน (WLP) และข้าวป่าเชียงใหม่ (WCM) ข้าวป่าร้อยเอ็ด (WRE) และข้าวป่าสุรินทร์ (WSR) ภายใต้สภาพน้ำลึก โดยวางแผนการทดลองแบบ randomize complete block design จำนวน 3 ซ้ำ นำข้าวป่าอายุ 60 วันหลังเพาะเมล็ด ย้ายลงบ่อซีเมนต์ที่มีปริมาณน้ำท่วมสูง 90% ของความสูงต้นข้าว เป็นเวลา 14 วัน บันทึกความสามารถในการยืดปล้อง โดยวัดความยาวต้น จำนวนข้อ และ ความยาวปล้อง หลังให้สภาพน้ำลึกครบ 14 วันพบว่าข้าวป่าลำพูนมีความยาวต้นที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยมากที่สุด มีจำนวนข้อมากที่สุด (3 ข้อ) และมีความยาวปล้องในปล้องที่ 2, 3 และ 4 เฉลี่ยมากที่สุด (11.0, 7.6 และ 2.9 เซนติเมตร ตามลำดับ) เมื่อพิจารณาระดับการแสดงออกของยีน SK2 พบว่าข้าวป่าลำพูนมีระดับการแสดงออกของยีนมากที่สุด พบความสัมพันธ์ในเชิงบวกระหว่างความยาว และการยืดปล้องกับการแสดงออกของยีน SK2 เมื่อนำข้อมูลมาเชื่อมโยงกันแล้วจากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า ยีน SK2 เกี่ยวข้องกับการตอบสนองต่อสภาพน้ำลึกโดยการยืดปล้อง งานวิจัยนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการคัดเลือกพันธุกรรมของข้าวป่าสามัญเพื่อใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวน้ำลึกต่อไปen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการยืดปล้องen_US
dc.subjectการแสดงออกของยีน SK2en_US
dc.titleความสามารถในการยืดปล้องและการแสดงออกของยีน SK2ในข้าวป่าสามัญภายใต้สภาพน้ำลึกen_US
dc.title.alternativeInternode Elongation Ability and SK2Gene Expression in Common Wild Rice Under Deep Wateren_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.