Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66936
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชนัญญา ปาลีตาen_US
dc.contributor.authorอภิรุม จันทน์หอมen_US
dc.contributor.authorสุคนธ์ ประสิทธิ์วัฒนเสรีen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.available2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 40,1 (ม.ค.-เม.ย. 2562) 47-55en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2562_40_1_503.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66936-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างอายุกับอัตราส่วนพื้นที่เนื้อเยื่อในต่อฟันของฟันเขี้ยวบนในกลุ่มประชากรไทย เพื่อสร้างสมการการประมาณอายุและทดสอบความแม่นยําของสมการ ในตัวอย่างภาพรังสีรอบปลายรากฟันเขี้ยวบน 544 ภาพ โดยวัดพื้นที่เนื้อเยื่อในและฟันด้วยโปรแกรม AutoCAD 2017 จากนั้นหาค่าอัตราส่วนพื้นที่เนื้อเยื่อในต่อฟัน แล้วนําไปวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Pearson correlation พบว่าค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ -0.475 ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 และได้รูปแบบสมการเป็นการถดถอยแบบเชิงเส้นตรง ดังนี้ อายุ = 78.895-270.614(AR) เมื่อ AR คือ อัตราส่วนพื้นที่เนื้อเยื่อในต่อฟันของฟันเขี้ยวบน ที่ค่าสัมประสิทธิ์การทํานายเท่ากับ 0.225 และค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการประมาณเท่ากับ 13.664 ปีและนําไปทดสอบสมการกับกลุ่มทดสอบ (88 ภาพ) ให้ค่าความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยเท่ากับ -4.40 ปี และค่าความ คลาดเคลื่อนสัมบูรณ์เฉลี่ยเท่ากับ 13.06 ปี เนื่องจากการศึกษานี้เป็นการศึกษาแรก ที่ใช้อัตราส่วนพื้นที่เนื้อเยื่อในต่อฟันของฟันเขี้ยวบนในการประมาณอายุของกลุ่มประชากรไทย ดังนั้น ผลจากการศึกษานี้น่าจะมีประโยชน์สําหรับการประมาณอายุในงานทางด้านนิติมานุษยวิทยา และนิติวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับประชากรไทยอายุ 20 ปีขึ้นไปen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการประมาณอายุen_US
dc.subjectอัตราส่วนพื้นที่เนื้อเยื่อในต่อฟันen_US
dc.subjectภาพรังสีรอบปลายรากen_US
dc.subjectฟันเขี้ยวบนen_US
dc.subjectประชากรไทยen_US
dc.titleการประเมินอายุจากอัตราส่วนพื้นที่เนื้อเยื่อในต่อฟันของฟันเขี้ยวบนในกลุ่มประชากรไทยen_US
dc.title.alternativeAge Estimation Using Pulp/Tooth Area Ratio of Upper Canines in a Thai Populationen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.