Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66929
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorทักษพร สมมิตรen_US
dc.contributor.authorจิราพร กุลสารินen_US
dc.contributor.authorไสว บูรณพานิชพันธุ์en_US
dc.contributor.authorสมนึก บุญเกิดen_US
dc.contributor.authorกนกวรรณ คำยอดใจen_US
dc.contributor.authorกฤษณะ เรืองฤทธิ์en_US
dc.date.accessioned2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.available2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 35, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562), 343-353en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/215881/150711en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66929-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractการเพาะเลี้ยงผึ้งชันโรง Tetragonula laeviceps (Smith) species complex ในรังเลี้ยงเป็นอุตสาหกรรมอย่างหนึ่งที่เกษตรกรนิยมเลี้ยงไว้เพื่อเพิ่มขยายจำนวนรังในเชิงการค้า แต่เนื่องจากผึ้งชันโรงนางพญาที่มีจำกัดภายในรังทำให้ขยายรังได้น้อย การทดลองวิจัยในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณอาหารที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงผึ้งชันโรงนางพญาในสภาพกึ่งธรรมชาติ วงจรชีวิตและการอนุบาลผึ้งชันโรงนางพญาพรหมจรรย์ โดยเพาะเลี้ยงภายใต้ตู้ควบคุมอุณหภูมิ 28 ± 1 องศาเซลเซียส ความชื้น 70-75 เปอร์เซ็นต์ พบว่าปริมาณอาหารที่ตัวหนอนได้รับ 64 ไมโครลิตร พบอัตรารอดในระยะตัวหนอน ดักแด้ และตัวเต็มวัย เฉลี่ยอยู่ที่ 34.28, 39.10 และ 62.63 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ขนาดของผึ้งชันโรงนางพญาเล็กกว่าผึ้งชันโรงนางพญาที่เพาะเลี้ยงตามธรรมชาติ การศึกษาวงจรชีวิตของผึ้งชันโรงนางพญา พบว่ามีการเจริญเติบโต 4 ระยะ คือ ระยะไข่ ระยะตัวหนอน ระยะดักแด้ และระยะตัวเต็มวัย ระยะเวลาการเจริญเติบโตตั้งแต่ระยะไข่จนเข้าสู่ระยะตัวเต็มวัย ใช้เวลาเฉลี่ย 44.50 ± 0.53 วัน การอนุบาลผึ้งชันโรงนางพญาพรหมจรรย์ 3 วัน พบว่าหากผึ้งชันโรงงานยอมรับผึ้งชันโรงนางพญาพรหมจรรย์ จะไม่กัดหรือทำร้ายและมีการป้อนอาหารให้ สามารถนำไปปล่อยไว้ในรังที่ไม่มีผึ้งชันโรงนางพญาได้ หลังจากปล่อยเข้าสู่รัง 12 ชั่วโมง พบว่าผึ้งชันโรงนางพญาพรหมจรรย์ผสมพันธุ์กับผึ้งชันโรงตัวผู้ และวางไข่เพื่อเพิ่มจำนวนประชากรen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectผึ้งชันโรงนางพญาen_US
dc.subjectการเติบโตen_US
dc.subjectการเพาะเลี้ยงสภาพกึ่งธรรมชาติen_US
dc.subjectวงจรชีวิตen_US
dc.titleการสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodoruการเพาะเลี้ยงผึ้งชันโรงนางพญา Tetragonula laeviceps(Smith)Species Complex ในสภาพกึ่งธรรมชาติm recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์en_US
dc.title.alternativeObservatioIn VitroRearing of Stingless Bee QueenTetragonula laeviceps(Smith) Species Complexn on Growth Behaviour of Geodorum recurvum (Roxb.) Alston Pseudobulbs in Nature and in Cultivated Condition for Propagationen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.