Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66889
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวธูสิริ ใจกลางen_US
dc.contributor.authorวรรษพร อารยะพันธ์en_US
dc.contributor.authorนันทวรรณ ม่วงใหญ่en_US
dc.date.accessioned2019-12-03T06:32:23Z-
dc.date.available2019-12-03T06:32:23Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationมนุษยศาสตร์สาร 22,2 (พ.ค-ส.ค. 2562) 101-132en_US
dc.identifier.issn2630-0370en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/213162/148155en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66889-
dc.descriptionมนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมen_US
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการการใช้ รวมทั้งข้อเสนอแนะในการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ของประชาชนบ้านหนองดู่และบ่อคาว จังหวัดลำพูน ผู้วิจัยใช้วิธีวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ เก็บรวบรวมข้อมูลจากประชาชนที่อาศัยในชุมชนชาวมอญ บ้านหนองดู่ หมู่ที่ 1 และบ้านบ่อคาว หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านเรือน อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน จำนวน 273 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) ความต้องการแหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ของประชาชนบ้านหนองดู่และบ่อคาว จังหวัดลำพูนที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วมในชุมชน ( = 4.40) รองลงมาคือ ด้านเครือข่ายชาวมอญ ( = 4.38) ด้านทรัพยากรสารสนเทศ ( = 4.37) ด้านการบริการ ( = 4.36) ด้านผู้ให้บริการ/เจ้าหน้าที่ ( = 4.33) ด้านอาคารสถานที่ ( = 4.32) ด้านการประชาสัมพันธ์ ( = 4.31) ด้านลักษณะทางกายภาพ ( = 4.26) และด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ( = 4.23) 2) การใช้แหล่งการเรียนรู้ของชาวมอญในจังหวัดลำพูนพบว่า ประชาชนบ้านหนองดู่และบ่อคาว จังหวัดลำพูนมีการใช้แหล่งการเรียนรู้ประเภทวัดมากที่สุด เช่น วัดหนองดู่ วัดเกาะกลาง (ร้อยละ 26.40) ด้านวัตถุประสงค์คือเพื่อหาความรู้ในเรื่องที่สนใจมากที่สุด (ร้อยละ 20.50) มีการใช้เนื้อหาความรู้ด้านประเพณีมากที่สุด เช่น ประเพณีตักบาตรน้ำผึ้ง ประเพณีแห่หงส์ธงตะขาบ (ร้อยละ 24.10) 3) ข้อเสนอแนะในการบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ของประชาชนบ้านหนองดู่และบ่อคาว จังหวัดลำพูน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีข้อเสนอแนะในด้านต่างๆ ดังนี้ 1) ด้านอาคารสถานที่ 2) ด้านทรัพยากรสารสนเทศ 3) ด้านบริการและกิจกรรม 4) ด้านบุคลากร 5) ด้านการมีส่วนร่วม และ 6) ด้านอื่นๆen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแหล่งการเรียนรู้en_US
dc.subjectเครือข่ายการเรียนรู้en_US
dc.subjectชาวมอญen_US
dc.titleความต้องการและการใช้แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ของชาวมอญ ในจังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeNeeds and Useof Learning Center and Learning Network of Mon Communities inLamphun Provinceen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.