Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66886
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศิวกร เกียรติมณีรัตน์en_US
dc.contributor.authorเยาวลักษณ์ จันทร์บางen_US
dc.contributor.authorจิราพร กุลสารินen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T06:32:23Z-
dc.date.available2019-12-03T06:32:23Z-
dc.date.issued2554en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 27, 2 (มิ.ย. 2554), 154-153en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00113_C00825.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66886-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractการศึกษาชีววิทยาของมอดฟันเลื่อยที่เลี้ยงด้วยข้าวสารปทุมธานี 1 ในจานหลุม 96 หลุม (96-well plate) ที่อุณหภูมิ 28-32 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 75 เปอร์เซ็นต์ มีระยะเวลาในการฟักไข่ หนอนวัย 1, 2, 3 และ 4 ใช้เวลา 2.72±1.60, 2.42±0.97, 2.70±0.65, 2.74±0.90 และ 3.31±0.80 วันตามลำดับ มีอัตราการพักตัวก่อนเข้าดักแด้ และดักแด้ 1.10±0.30 และ 5.92±0.67 วัน ตามลำดับ วงจรชีวิตทั้งหมดตั้งแต่ระยะไข่ ถึงตัวเต็มวัยอยู่ที่ 19.81±1.65 วัน การศึกษาความสามารถในการวางไข่ของมอดฟันเลื่อยพบว่ามอดฟันเลื่อยชอบที่วางไข่ในข้าวบาร์เลย์มากที่สุดไม่แตกต่างจากข้าวบาร์เลย์ผสมยีสต์ 5 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาได้แก่ ข้าวสารปทุมธานี 1, ข้าวก่ำ 88061, ข้าวก่ำดอยสะเก็ด และข้าวเหนียวสันป่าตอง 1 มอดฟันเลื่อยสามารถเจริญเติบโตได้ดีที่สุดในข้าวบาร์เลย์ และข้าวบาร์เลย์ผสมยีสต์ 5 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งไม่แตกต่างกันทางสถิติ การศึกษาประสิทธิภาพของโอโซนในการกำจัดมอดฟันเลื่อยพบว่า ในระยะดักแด้ของมอดฟันเลื่อยเป็นระยะที่ทนทานที่สุดเมื่อผ่านก๊าซโอโซนอัตรา 60 ppm เป็นระยะเวลา 2 ชั่วโมง มีเปอร์เซ็นต์การตาย 60.83±3.19 เปอร์เซ็นต์ การหาระยะเวลาที่เหมาะสมในการใช้กำจัดระยะดักแด้ของมอดฟันเลื่อยเมื่อผ่านก๊าซโอโซนโดยตรงพบว่า เมื่อนำดักแด้ไปผ่านก๊าซโอโซนโดยตรงเป็นเวลา 6 ชั่วโมงพบอัตราการตาย 100 เปอร์เซ็นต์ แต่เมื่อนำดักแด้จำนวน 30 ตัวใส่ในข้าวสารขาวดอกมะลิ 105 น้ำหนัก 1 กิโลกรัม ไปรมด้วยก๊าซโอโซนที่เวลา 0.5, 1, 2, 3, 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18 และ 20 ชั่วโมง พบว่าดักแด้ของมอดฟันเลื่อยมีการตายอย่างสมบูรณ์ที่ 20 ชั่วโมงen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectมอดฟันเลื่อยen_US
dc.subjectโอโซนen_US
dc.subjectข้าวก่ำen_US
dc.subjectข้าวสารen_US
dc.titleชีววิทยาของมอดฟันเลื่อยและประสิทธิภาพของโอโซนในการกำจัดมอดฟันเลื่อยในข้าวสารen_US
dc.title.alternativeBiology of Sawtoothed Grain Beetle (Oryzaephilus surinamensis L.) and Its Control Efficacy Using Ozone in Milled Riceen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.