Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66878
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบุญจันทร์ มณีแสงen_US
dc.contributor.authorรุจ ศิริสัญลักษณ์en_US
dc.date.accessioned2019-12-03T06:32:23Z-
dc.date.available2019-12-03T06:32:23Z-
dc.date.issued2554en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 27, 2 (มิ.ย. 2554),137-143en_US
dc.identifier.issn0857-0846en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00113_C00824.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66878-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อพันธุ์ลูกผสมระหว่างแม่พื้นเมืองกับพ่อพันธุ์บราห์มันแดง (2) ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการยอมรับการเลี้ยงโคเนื้อพันธุ์ลูกผสม และ (3) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะของเกษตรกรในการเลี้ยงโคเนื้อพันธุ์ลูกผสม ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ เกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อพันธุ์ลูกผสมในนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว จำนวน 120 ราย ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 50.4 ปี หนึ่งในสามส่วนจบการศึกษาระดับชั้นประถม มีประสบการณ์ในการเลี้ยงโคเฉลี่ย 14.3 ปี ส่วนใหญ่ไม่เคยเข้ารับการฝึกอบรมเกี่ยวกับการเลี้ยงโคเนื้อพันธุ์ลูกผสม มีขนาดพื้นที่ถือครองโดยเฉลี่ย 14.2 ไร่ ในด้านระดับความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผสมเทียมและการเลี้ยงโคเนื้อพันธุ์ลูกผสม พบว่า เกษตรกรประมาณครึ่งหนึ่งมีความรู้อยู่ในระดับน้อยและจำนวนเกินครึ่งมีการนำไปปฏิบัติอยู่ในระดับน้อย ในด้านทัศนคติของเกษตรกรต่อเทคนิคการผสมเทียมและการเลี้ยงโคเนื้อพันธุ์ลูกผสม พบว่า โดยภาพรวมเกษตรกรมีทัศนคติในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่งต่อเทคนิคการผสมเทียมและการเลี้ยงโคเนื้อพันธุ์ลูกผสม การวิจัยครั้งนี้พบว่า ปัจจัยที่สัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการยอมรับการเลี้ยงโคเนื้อพันธุ์ลูกผสมของเกษตรกร ได้แก่ จำนวนปีที่ได้รับการศึกษา การเข้ารับการฝึกอบรมเทคนิกการเลี้ยงโคเนื้อลูกผสม การได้รับข่าวสารเกี่ยวกับการเลี้ยงโคเนื้อพันธุ์ลูกผสม และระดับปัญหาการเลี้ยงโคเนื้อพันธุ์ลูกผสมen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectปัจจัยที่สัมพันธ์en_US
dc.subjectการยอมรับโคเนื้อพันธุ์ลูกผสมen_US
dc.subjectโคแม่พื้นเมืองen_US
dc.subjectโคพ่อพันธุ์บราห์มันแดงen_US
dc.titleปัจจัยที่สัมพันธ์กับการยอมรับการเลี้ยงโคเนื้อลูกผสมระหว่างแม่พื้นเมืองกับพ่อพันธุ์บราห์มันแดง ของเกษตรกรในนครหลวงเวียงจันทน์ สปป. ลาวen_US
dc.title.alternativeFactors Related to the Adoption of Crossbred Beef Cattle Between Native Cow and Red Brahman Bull of Farmers in Vientiane Capital, Lao PDRen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.