Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66874
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฤตินันท์ สมุทร์ทัย | - |
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร.ศักดา พรึงลำภู | - |
dc.contributor.author | ธีรวัฒน์ บุญชัย | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-09-23T07:05:00Z | - |
dc.date.available | 2019-09-23T07:05:00Z | - |
dc.date.issued | 2017-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66874 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study were to study food consumption behavior and blood pressure level among hypertensive patients received services in Maetang Hospital, Chiang Mai Province. The sample was composed of 210 patients who received services at the hypertension clinic. The data were collected in the day of service by using structured interviews about food consumption behavior for the last one week. The content validity verified by three experts. The result of IOC range from 0.66 to 1.00 and the reliability by calculating the coefficient of Cronbach alpha was 0.91. The data were analyzed and presented in percentage, mean and standard deviation. The study indicated that the hypertensive patients had optimal consumption behavior at high level. The food items, which the patients had optimal food consumption behavior at low level, included monosodium glutamate/seasoning foods, reduced seasoning salty foods, low fat foods, cooked brown rice and steamed sticky rice. Regarding blood pressure levels, the controlled hypertensive patients had an estimated 62.41 % to 74.90 % and it was found that the percentages of uncontrolled hypertensive patients increased by the time it was diagnosed. In addition, the patients who were diagnosed with hypertension in a period of 16-25 years, mostly male, aged 60 years and over. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมการบริโภคอาหาร | en_US |
dc.subject | ระดับความดันโลหิต | en_US |
dc.subject | ผู้ป่วย | en_US |
dc.subject | โรความดันโลหิตสูง | en_US |
dc.subject | โรงพยาบาลแม่แตง | en_US |
dc.title | พฤติกรรมการบริโภคอาหารและระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในโรงพยาบาลแม่แตง | en_US |
dc.title.alternative | Food Consumption Behavior and Blood Pressure Level Among Hypertensive Patients Received Services in Maetang Hospital, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 616.132 | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงพยาบาลแม่แตง (เชียงใหม่) | - |
thailis.controlvocab.thash | ความดันเลือดสูง -- ผู้ป่วย | - |
thailis.controlvocab.thash | พฤติกรรมสุขภาพ | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 616.132 ธ377พ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารและระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในโรงพยาบาลแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิกความดันโลหิตสูง จำนวน 210 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารย้อนหลัง 1 สัปดาห์ ในวันที่มารับบริการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ผลการพิจารณามีค่าดัชนีความสอดคล้องเป็นรายข้ออยู่ในช่วงตั้งแต่ 0.66-1.00 และมีการหาคุณภาพด้านความเชื่อมั่นของเครื่องมือ โดยการคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคมีค่าเท่ากับ 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า โดยรวมผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสมอยู่ในระดับมาก และพบว่ารายการอาหารที่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีความเหมาะสมอยู่ในระดับน้อย ได้แก่ อาหารที่ใช้ผงชูรส/ผงปรุงรส อาหารที่ลดการใช้เครื่องปรุงรสที่ให้รสเค็ม อาหารดัดแปลงไขมันต่ำ ข้าวกล้อง/ข้าวซ้อมมือหุงสุก และข้าวเหนียวนึ่งสุก สำหรับระดับความดันโลหิตพบว่า ผู้ป่วยมีความดันโลหิตที่ควบคุมได้ ประมาณร้อยละ 62.41 ถึง 74.90 และพบว่าร้อยละของผู้ป่วยที่มีระดับความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้เพิ่มขึ้นตามระยะเวลาที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค ความดันโลหิตสูงในช่วงระยะเวลา 16-25 ปี ส่วนใหญ่เป็นเพศชายอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full Text.pdf | Full Text | 1.53 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.