Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66866
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอ.ดร.จิราคม สิริศรีสกุลชัย-
dc.contributor.advisorอ.ดร.วรัทยา ชินกรรม-
dc.contributor.authorนงนภัส วาชัยยุงen_US
dc.date.accessioned2019-09-23T04:32:44Z-
dc.date.available2019-09-23T04:32:44Z-
dc.date.issued2015-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66866-
dc.description.abstractThe present study aims to investigate the relationship between lending volume of Thai commercial banks and economic growth of Thailand based on panel data of 76 provinces in Thailand covering 10 years’ period from 2004 to 2013. An autocorrelation test was performed on these dynamic panel data and the relationship between lending volume and economic growth was determined by GMM estimation. In this study, Gross Provincial Product : GPP was used as the proxy of economic growth. The findings from the test in the case containing inflation rate variable (8 years’ panel data) revealed three variables that are statistically significant at 0.01 level including (1) provincial lending volume of commercial banks, (2) number of business operators with commercial registration, and (3) provincial inflation rate while the other two variables are not statistically significant including (4) government budget allocated to the province, and (5) provincial unemployment rate. In the case not containing inflation rate variable (10 years’ panel data), the test indicated that all four variables are statistically significant at 0.01 level including (1) provincial lending volume of commercial banks, (2) government budget allocated to the province, (3) number of business operators with commercial registration, and (4) provincial unemployment rate. From the GMM estimation, it was found that the lending volume of commercial banks in a province affected the GPP growth of that province in the opposite direction. In the case incorporating the inflation rate variable (8 years’ panel data), the 1 % increase in the proportion of lending volume of commercial banks in the GPP will decrease the growth rate of GPP per capita by 0.13 %. Meanwhile, in the case not including the inflation rate variable (10 years’ panel data), the 1 % increase in lending volume of commercial banks/GPP ratio will decrease the growth rate of GPP per capita by 0.35 %.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสินเชื่อen_US
dc.subjectธนาคารพาณิชย์en_US
dc.subjectเศรษฐกิจen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการให้สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์กับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeRelationship Between Commercial Bank’s Lending and the Economic Growth of Thailanden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc332.7-
thailis.controlvocab.thashสินเชื่อ-
thailis.controlvocab.thashธนาคารพาณิชย์-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาเศรษฐกิจ-
thailis.manuscript.callnumberว 332.7 น125ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการให้สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์กับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย โดยการศึกษาในครั้งนี้ใช้ข้อมูลช่วงยาว (panel data) ของแต่ละจังหวัดในประเทศไทยจำนวน 76 จังหวัด ตั้งแต่ปี พ.ศ.2547 ถึง ปี พ.ศ.2556 รวมทั้งสิ้น 10 ปี โดยการประมาณค่ามีการทดสอบแบบ dymamic panel data และใช้การประมาณค่าแบบ GMM เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการให้สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์กับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยและปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวมรายจังหวัด (Gross Provincial Product : GPP) เป็นตัวแทนวัดการเจริญเติบโตของประเทศ ผลการทดสอบ พบว่า กรณีศึกษาโดยมีตัวแปรอัตราเงินเฟ้อ (ระยะเวลา 8 ปี)พบว่าตัวแปรที่มีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ (1) ปริมาณการให้สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์รายจังหวัด (2) จำนวนผู้ประกอบการที่จดทะเบียนพาณิชย์ (3) อัตราเงินเฟ้อรายจังหวัด มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ส่วน (4) งบประมาณรัฐบาลรายจังหวัด (5) อัตราการว่างงานรายจังหวัด จากการประมาณการพบว่าไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ กรณีศึกษาโดยไม่มีตัวแปรอัตราเงินเฟ้อ (ระยะเวลา 10 ปี) พบว่าตัวแปรที่มีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ (1) ปริมาณการให้สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์รายจังหวัด (2) งบประมาณรัฐบาลรายจังหวัด (3) จำนวนผู้ประกอบการที่จดทะเบียนพาณิชย์ (4) อัตราการว่างงานรายจังหวัด มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ในส่วนของปริมาณการให้สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์รายจังหวัดนั้นจากผลทดสอบพบว่ามีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมรายจังหวัดในทิศทางตรงกันข้าม กรณีศึกษาโดยมีตัวแปรอัตราเงินเฟ้อ (ระยะเวลา 8 ปี) เมื่อสัดส่วนของปริมาณการให้สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมรายจังหวัดเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จะทำให้อัตราการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดรายคนลดลงร้อยละ 0.13 กรณีศึกษาโดยไม่มีตัวแปรอัตราเงินเฟ้อ (ระยะเวลา 10 ปี) เมื่อสัดส่วนของปริมาณการให้สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมรายจังหวัดเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จะทำให้อัตราการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดรายคนลดลงร้อยละ 0.35en_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.81 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.