Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66864
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.มาลินี คุ้มสุภา-
dc.contributor.authorชลดาณษภร รักศรีเกษตรen_US
dc.date.accessioned2019-09-23T04:26:33Z-
dc.date.available2019-09-23T04:26:33Z-
dc.date.issued2015-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66864-
dc.description.abstractThe objective of this independent study was to investigate the participation of DoiPui population for the tourist resource management by villagers and interest groups in charge of tourist resource management in the community. As a result, it helped boost the tourism and an influx of tourists, which brought revenues to the community. All the parties, including community leaders, interest groups, and people who played a key role in the local economy, created more cooperation in the community. The cooperation was given not only by a group for tourism resource management, but also by other community members. It was the way for the community and people to coexist through their participation in the economic development for their sustainability. This study was based on the quantitative and qualitative process through the study of relevant documents and data collection from the target area. These included an observation and interview with the community leaders concerning the tourism resource management. According to the study results, there were a few numbers of people who were unable to access to the tourism resource management despite the participation of DoiPui community because such management was usually conducted by people in the same family. Nevertheless, the participation in the tourism resource management in this village enabled people to feel satisfactory with what they obtained and the benefits for their community brought by the tourism resource management. It was beyond the benefits for only their own group but for the community’s economy. They realized that this resource management would make the community sustainably self-reliant. The roles of interest groups 1. The community leaders and leaders of interest groups had conflict thoughts both in their own community and among the leaders of interest groups. However, these were not intense. 2. The leaders of interest groups raised some conflicts over the budget managed by the integrated administration. However, they were able to compromise each other through a decision made by the community leaders to allow any interest group to gain the benefits so as to prevent the conflicts. The roles of participation People in the area became aware of the role of community members. When they were assigned by the community or required to work for the community, they would do it with full capacity despite the fact that they did not obtain any benefits. They kept doing it due to an awareness of being a community member to make the community neat and clean to welcome the tourists. Therefore, all the people in DoiPui community were willing to provide their participation which would eventually promote the community’s economy for sustainability.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectหมู่บ้านดอยปุยen_US
dc.subjectการจัดการทรัพยากรen_US
dc.subjectการท่องเที่ยวen_US
dc.titleการมีส่วนร่วมของประชาชนหมู่บ้านดอยปุยในการจัดการทรัพยากรเพื่อการท่องเที่ยว ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (พ.ศ.2548-2556)en_US
dc.title.alternativeThe Participation of Doipui Population According to Villager Tourist Resource Management in Tambol Suthep, Amphoe Mueang, Changwat Chiang Mai B.E.2548-2556en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc333.72-
thailis.controlvocab.thashการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ -- การมีส่วนร่วมของประชาชน-
thailis.controlvocab.thashการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ -- เมือง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- เมือง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashดอยปุย (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashเชียงใหม่ -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 333.72 ช174ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในหมู่บ้านดอยปุยในการจัดการทรัพยากรเพื่อการท่องเที่ยวโดยศึกษาจากการมีส่วนร่วมของประชาชนและกลุ่มผลประโยชน์กลุ่มต่างๆที่มีส่วนรับผิดชอบในการจัดการทรัพยากรเพื่อการท่องเที่ยวขึ้นในชุมชนซึ่งเป็นผลให้เกิดความดึงดูดใจต่อการท่องเที่ยวและการเข้ามาของนักท่องเที่ยวที่ก่อให้เกิดรายได้ภายในชุมชนขึ้นไม่ว่าจะเป็นผู้นำชุมชนกลุ่มผลประโยชน์และประชาชนที่มีบทบาทในระบบเศรษฐกิจชุมชนโดยทุกฝ่ายได้หันมาสร้างความร่วมมือจากคนภายในชุมชนเองไม่เพียงแต่กลุ่มจัดการทรัพยากรเพื่อการท่องเที่ยวแต่เป็นการสร้างการมีส่วนร่วมที่เกิดจากสมาชิกในชุมชนกลุ่มอื่นด้วยอันเป็นแนวทางที่จะทำให้ชุมชนและประชาชนดำรงอยู่ได้ด้วยการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจของสมาชิกทุกคนได้อย่างยั่งยืน การศึกษานี้ใช้กระบวนการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพโดยศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องและการเก็บข้อมูลในพื้นที่โดยการสังเกตแบบมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์ผู้นำชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรเพื่อการท่องเที่ยว ผลการศึกษาพบว่าการมีส่วนร่วมในชุมชนดอยปุยนั้นยังมีประชาชนจำนวนหนึ่งยังเข้าไม่ถึงแหล่งทรัพยากรที่จัดการท่องเที่ยวเพราะการจัดการมักจะเป็นการจัดการเฉพาะคนในตระกูลเดียวกันแต่กระนั้นก็ตามการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรเพื่อการท่องเที่ยวของหมู่บ้านนี้ประชาชนมีความพอใจกับสิ่งที่ได้รับและมองผลประโยชน์ของชุมชนที่ได้รับจากการจัดการแหล่งทรัพยากรเพื่อการท่องเที่ยวมากกว่ามองกลุ่มผลประโยชน์เฉพาะของตนแต่เห็นแก่ประโยชน์ของเศรษฐกิจชุมชนมากกว่าเห็นว่านั่นจะเป็นการจัดการทรัพยากรที่ส่งผลให้ชุมชนพึ่งพาตัวเองได้อย่างยั่งยืน บทบาทของกลุ่มผลประโยชน์ 1. ผู้นำชุมชนกับผู้นำกลุ่มผลประโยชน์มีความขัดแย้งด้านความคิด ทั้งในชุมชนกันเองและในส่วนของผู้นำกลุ่มผลประโยชน์ด้วยกันเพียงแต่ไม่รุนแรง 2. ผู้นำกลุ่มผลประโยชน์มีการขัดแย้งด้านงบประมาณที่ต้องบริหารโดยส่วนกลางบ้างแต่ทุกครั้งสามารถประนีประนอมกันได้ด้วยการตัดสินใจของผู้นำชุมชนว่าจะให้กลุ่มผลประโยชน์ใดได้ประโยชน์ทำให้ไม่เกิดความขัดแย้ง บทบาทต่อการมีส่วนร่วม ประชาชนในพื้นที่ได้ตระหนักถึงบทบาทของคนในชุมชนทุกครั้งที่ได้รับมอบหมายงานจากส่วนรวมหรืองานที่ทำเพื่อชุมชนทุกคนจะทำอย่างเต็มกำลังแม้จะเป็นงานที่ตนไม่ได้รับผลประโยชน์ก็ตามแต่ด้วยจิตสำนึกความเป็นคนในชุมชนได้ทำให้สถานที่ในชุมชนมีความสวยงามสะอาด เพื่อต้อนรับนักท่องเที่ยวโดยเกิดจากประชาชนดอยปุยทุกคนจึงที่พร้อมเข้ามามีส่วนร่วมซึ่งจะมีผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนของดอยปุยได้มีความเติบโตอย่างยั่งยืนต่อไปen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.24 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.