Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66860
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร.ภูริทัต อินยา | - |
dc.contributor.author | ปียานุช กองเงิน | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-09-23T04:13:07Z | - |
dc.date.available | 2019-09-23T04:13:07Z | - |
dc.date.issued | 2015-12 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66860 | - |
dc.description.abstract | The objective of this independent study was to survey the factors of marketing communication mix affecting consumers recognition of local ice cream in Mueang Chaing Mai District. The population in this study was 400 people who used to consume local ice cream. The data was collected by questionnaire. It was found from this study that most respondent were female with secondary education aged 19-25 years old that earned average 5,001-10,000 baht per month. For more information about buying the local ice cream, the frequency of buying is 2-3 times per month. Type scoop was popular local ice cream. The reasons for buying were cheap price and hot weather condition. And they recognize Pa Tan Brand. In the overview of marketing communication mix factors affecting recognition of local ice cream, we found that level of recognize is high on personal selling factor. However, the level of recognize are moderate on word-of-mouth marketing factor, interactive marketing factor, public relations and publicity factor, events and publicity factor, direct marketing factor, advertising factor and sales promotion factor. When respondents were segmented by sex and by monthly income, revealed that level of recognize factors in the mix of marketing communication are no different. When segmented by age, the level of recognize factors in the mix of marketing communication are different for instance sales promotion factor, direct marketing factor and personal selling factor | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การสื่อสาร | en_US |
dc.subject | การตลาด | en_US |
dc.subject | ไอศกรีม | en_US |
dc.title | ปัจจัยส่วนประสมด้านการสื่อสารการตลาดที่มีผลต่อการรู้จักไอศกรีมท้องถิ่นของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Factors of Marketing Communication Mix Affecting Consumers Recognition of Local Ice Cream in Mueang Chaing Mai District | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 658.8 | - |
thailis.controlvocab.thash | การตลาด | - |
thailis.controlvocab.thash | การจัดการตลาด | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้บริโภค -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การจัดการผลิตภัณฑ์ | - |
thailis.controlvocab.thash | ไอศกรีม | - |
thailis.manuscript.source | ว/ภน 658.8 ป362ป | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมด้านการสื่อสารการตลาดที่มีผลต่อการรู้จักไอศกรีมท้องถิ่นของผู้บริโภค ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ประชากรที่เคยบริโภคไอศกรีมท้องถิ่น จำนวน 400 ราย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือการศึกษา ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 19-25 ปี ส่วนใหญ่มีสถานภาพโสด มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ มีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,001-10,000 บาท มีความถี่ในการซื้อ 2-3 ครั้งต่อเดือน นิยมเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แบบตัก ให้เหตุผลในการเลือกซื้อว่ามีราคาถูกและอากาศร้อน และรู้จักสินค้ายี่ห้อป่าตัน ในภาพรวมของปัจจัยส่วนประสมด้านการสื่อสารการตลาดที่มีผลต่อการรู้จักไอศกรีมท้องถิ่น พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการรู้จักในระดับมาก คือ ปัจจัยด้านการขายโดยบุคคล ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการรู้จักอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ปัจจัยด้านการสื่อสารแบบปากต่อปาก ปัจจัยด้านการปฏิสัมพันธ์ทางการตลาด ปัจจัยด้านการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข่าว ปัจจัยด้านการจัดกิจกรรมพิเศษและการเป็นผู้อุปถัมภ์ ปัจจัยด้านการตลาดทางตรง ปัจจัยด้านการโฆษณา และปัจจัยด้าน การส่งเสริมการขาย เมื่อแบ่งกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามตามเพศ และการแบ่งตามรายได้ต่อเดือน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับการรู้จักสูงสุด ในแต่ละปัจจัยส่วนประสมด้านการสื่อสารการตลาดที่ไม่แตกต่างกัน ในขณะที่เมื่อแบ่งกลุ่มตามอายุ ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับการรู้จักสูงสุดในแต่ละปัจจัยส่วนประสมด้านการสื่อสารการตลาดที่แตกต่างกัน ในด้านปัจจัยด้านการส่งเสริมการขาย ปัจจัยด้านการตลาดทางตรง และปัจจัยด้านการขายโดยบุคคล | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Humanities and Social Sciences: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 2.82 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.