Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66859
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิสิฐ ศรีสุริยจันทร์-
dc.contributor.authorฐิติพงษ์ จงหมายลักษณ์en_US
dc.date.accessioned2019-09-23T04:10:05Z-
dc.date.available2019-09-23T04:10:05Z-
dc.date.issued2015-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66859-
dc.description.abstractThe purposes of this study were to improve the effectiveness of the production process of unskinned dried logan in two processes at Chiang Mai Fresh Production, Co., Ltd by using the main approach. The pattern of movement and time in every process was recorded according to Process Chart and Flow Diagram. The data were analyzed based on the concept on the balance of the production line. The finding revealed that the improvement of the production process was ineffective because of the unnecessary movement during the production process. However, this problem could be resolved and become more convenient during the production process by using the concept of ECRS which was based on the theory of the balance of the production line. It was also suggested to use the E-Eliminate principle which included; Step 10) Bring longan into the Big Bag, Step 11) Transfer the Big Bag to the Silo, Step 12) Waiting up Silo, and Step 13) Bring up the Big Bag to Silo. Moreover, the result before and after the improvement of the producing longan 42,000 kilogram. per the production round in a day found that; In term of the distance, before and after improving, the total distance of producing was 36,994 meters. After the improvement, the distance was 26,626 meters. So, this showed a decrease for 28 percent. In addition in terms of time, it took 5,151 minutes. After the improvement, it took 4,433 minutes. So time was reduced by 26.64 percent. In term of machinery and cost, before the improvement, the company used 12 forklifts. After implementation, they used 9 forklifts. So they could reduce the cost of LPG fuel by 63,540 baht per one cycle of production. (LPG was used for 1 tank for a forklifts and the price for each tank was 353 baht at the date of surveying.) In term of labor, before the improvement, there were 58 workers. After implementation, there were 50 workers. So, the company could reduce the wage cost by 148,800 baht per one cycle of the production. (The wage was 310 baht per person per 8 hours.)en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectลำไยอบแห้งen_US
dc.subjectบริษัท เชียงใหม่เฟรช โปรดักส์ จำกัดen_US
dc.subjectการปรับปรุงประสิทธิภาพen_US
dc.subjectลำไย -- การอบแห้งen_US
dc.titleการปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิตลำไยอบแห้งแบบทั้งเปลือกของ บริษัท เชียงใหม่เฟรช โปรดักส์ จำกัดen_US
dc.title.alternativeProductivity Improvement in Dried Whole Longan Fruit Production of Chiang Mai Fresh Products Company Limiteden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.5-
thailis.controlvocab.thashบริษัท เชียงใหม่เฟรช โปรดักส์ จำกัด-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมกระบวนการผลิต-
thailis.controlvocab.thashการบริหารงานผลิต-
thailis.manuscript.sourceว/ภน 658.5 ฐ343ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง การปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิตลำไยอบแห้งแบบทั้งเปลือกของ บริษัท เชียงใหม่ เฟรชโปรดักส์ จำกัด มีวัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิตลำไยอบแห้งแบบทั้งเปลือกแบบสองขั้นตอน ของ บริษัท เชียงใหม่เฟรชโปรดักส์ จำกัด ใช้แนวคิดการเคลื่อนไหวและเวลา และการจัดสมดุลการผลิต มีขอบเขตของการศึกษารูปแบบกระบวนการและขั้นตอนการผลิตอบลำไยแห้งแบบทั้งเปลือกแบบสองขั้นตอน ประกอบกับหลัก ECRS เป็นแนวทางในการศึกษา โดยทำการจดบันทึกรูปแบบการเคลื่อนไหวและเวลาในทุกกระบวนการตามแผนภูมิกระบวนการผลิต (Process Chart) และแผนผังการไหล (Flow Diagram) เพื่อให้ได้ข้อมูลมาทำการวิเคราะห์ตามแนวคิดการจัดสมดุลของสายการผลิต ผลการศึกษา พบว่าการปรับปรุงกระบวนการการทำงานที่ไม่มีประสิทธิภาพ เริ่มจากเลือกกระบวนการที่เกิดการเคลื่อนย้ายโดยไม่จำเป็น โดยปรับปรุงวิธีการทำงานให้ง่ายขึ้น สะดวก รวดเร็วขึ้นจากแนวคิด ECRS ซึ่งประกอบอยู่ในทฏษฎีการจัดสมดุลสายการผลิต โดยเลือกใช้หลักการ E-Eliminate ตัดกระบวนการที่ไม่จำเป็นและไม่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มแก่สินค้าออกจากกระบวนการผลิตหลัก 4 กระบวนการ ดังต่อไปนี้ กระบวนการที่ 10 นำลำไยลง big bag กระบวนการที่ 11 ขน big bag ไปจุดขึ้นไซโล กระบวนการที่ 12 รอขึ้นไซโล และ กระบวนการที่ 13 big bag ขึ้นไซโล ผลที่ได้รับก่อนและหลังการปรับปรุง จากการผลิตที่มีปริมาณลำไย 42,000 กิโลกรัมต่อรอบการผลิตใน 1 วัน ของบริษัทฯ พบว่า ด้านระยะทาง ก่อนการปรับปรุง มีระยะทางที่เคลื่อนไหวในกระบวนการผลิตทั้งสิ้น 36,994 เมตร หลังการปรับปรุง มีระยะทางที่เคลื่อนไหวทั้งสิ้น 26,626 เมตร ลดลงคิดเป็นร้อยละ 28.0 ด้านเวลา ก่อนการปรับปรุง ใช้เวลารวมทั้งสิ้น 5,151 นาที หลังปรับปรุงใช้เวลารวมทั้งสิ้น 4,433 นาที ลดลงคิดเป็นร้อยละ 21.64 ด้านเครื่องจักรและต้นทุน โฟลค์ลิฟต์ที่ใช้ก่อนปรับปรุงใช้ทั้งสิ้น 12 คัน หลังปรับปรุงใช้ 9 คัน ทำให้ลดต้นทุนสำหรับเชื้อเพลิง LPG คิดเป็น 63,540 บาท ต่อหนึ่งฤดูกาลผลิต (ใน 1 วันใช้ LPG 1 ถังต่อโฟลค์ลิฟต์ 1 คัน ราคา LPG ถังละ 353 ณ วันที่เก็บข้อมูล) ด้านแรงงาน คนที่ใช้ก่อนปรับปรุงใช้แรงงานทั้งสิ้น 58 คน หลังปรับปรุงใช้แรงงานคนเหลือ 50 คน ทำให้ประหยัดค่าแรงงานคนทั้งสิ้น 148,800 บาท ต่อหนึ่งฤดูกาลผลิต (ค่าแรง ณ วันที่เก็บข้อมูล 310 บาทต่อคนต่อการทำงาน 8 ชั่วโมง)en_US
Appears in Collections:GRAD-Humanities and Social Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf5.73 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.