Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66858
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุทธนา พิมลศิริผล | - |
dc.contributor.author | ภานิชา เจียรวัฒนากร | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-09-23T04:06:43Z | - |
dc.date.available | 2019-09-23T04:06:43Z | - |
dc.date.issued | 2015-12 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66858 | - |
dc.description.abstract | This independent study aimed to study the consumer behavior in Mueang Surin district regarding sweet radish product. Four hundred questionnaires were responded by the sample group. Most of the respondents were 20-29-year-old females, single, undergraduate degree, self-employed and more than 25,000 Baht of monthly income. Consumer behaviour study revealed that the majority of respondents purchased Sampeung Brand due to its delicious taste and brand loyalty. The most influential for making decision of purchasing was oneself and parents, respectively. Regarding purchasing time and place, the frequency of purchasing was less than once a month, and on the evening weekend (16.01-19.00, Saturday-Sunday), was a preferable purchasing time. Furthermore, the local savouring stores were favoured among consumers because of the product varieties. An purchasing payment per time was less than or equal to 100 Baht. According to the hypothesis of Chi-Square, the study presented that both male and female respondents had a statistically significant impact on place and frequency purchasing. The age ranges had the significantly impact on purchasing decision (P<0.05). Correspondingly, the average monthly income had the significantly effect on brand preference, consuming behavior, place and frequency purchasing (P<0.05). Sensory testing of Sampeung brand showed that hedonic score of crispiness was moderately like (7.0±1.1) while odor and color were slightly like. For consumer perception, the comparative study of brand A (Sampueng brand) and brand B (the other brand) demonstrated that, consumers preferred brand A rather than brand B for color, odor, taste and crispiness. Just about right test for improving the Sampeung quality also showed the sweetness and the crispiness were appropriated, even though the color, odor, and saltiness should be slightly reduced. Considering the study on the marketing mix, consumers emphasized on a reasonable package design, price and a convenience of purchasing place such as 7-eleven. For a marketing promotion strategy, price reducing, poster advertisement, salesperson and public relations through exhibitions should be focused and applied. | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค | en_US |
dc.subject | หัวผักกาด | en_US |
dc.title | พฤติกรรมผู้บริโภคในอำเภอเมืองสุรินทร์ต่อผลิตภัณฑ์หัวผักกาด | en_US |
dc.title.alternative | Consumer Behavior in Mueang Surin District Regarding Sweet | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 658.8342 | - |
thailis.controlvocab.thash | พฤติกรรมผู้บริโภค -- สุรินทร์ | - |
thailis.controlvocab.thash | หัวผักกาด | - |
thailis.manuscript.source | ว 658.8342 ภ253พ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคในอำเภอเมืองสุรินทร์ต่อผลิตภัณฑ์หัวผักกาด โดยใช้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามจำนวน 400 ชุด พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีกลุ่มอายุระหว่าง 20-29 ปี มีสถานภาพโสด มีระดับการศึกษาปริญญาตรี ส่วนใหญ่มีอาชีพธุรกิจส่วนตัว โดยมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มากกว่า 25,000 บาท พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์หัวผักกาดของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เลือกยี่ห้อผลิตภัณฑ์หัวผักกาด ตราสามผึ้ง เนื่องจากรสชาติความอร่อย โดยผู้บริโภคส่วนใหญ่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงยี่ห้อ ผู้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์หัวผักกาด คือ ตัวเอง รองลงมา บิดา/มารดา จะซื้อผลิตภัณฑ์หัวผักกาด ในวันหยุด (เสาร์-อาทิตย์) ช่วงเย็น (16.01-19.00 น.) มีความถี่น้อยกว่าเดือนละ 1 ครั้ง มักซื้อจากร้านขายของฝากในจังหวัด เพราะมีสินค้าหลากหลายให้เลือก โดยมีค่าใช้จ่ายในการซื้อจำนวน ≤ 100 บาท/ครั้ง จากการทดสอบสมมุติฐานทางสถิติ Chi – Square พบว่า กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามทั้งเพศชายและเพศหญิงมีผลต่อการเลือกแหล่งซื้อผลิตภัณฑ์ และความถี่ในการซื้อผลิตภัณฑ์หัวผักกาดอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) ส่วนช่วงอายุแต่ละช่วงมีผลต่อลักษณะพฤติกรรมในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์หัวผักกาดอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) และช่วงรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแต่ละช่วงมีผลต่อการเลือกยี่ห้อ ลักษณะพฤติกรรมในการเลือกซื้อ แหล่งซื้อผลิตภัณฑ์หัวผักกาด และความถี่ อย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) ข้อมูลด้านความชอบของผลิตภัณฑ์หัวผักกาดยี่ห้อ A (ตราสามผึ้ง) พบว่า ด้านความกรอบของเนื้อสัมผัสชอบระดับปานกลาง (7.0±1.1) ในขณะที่ด้านสี กลิ่น และรสชาติชอบระดับเล็กน้อย ในส่วนของการรับรู้เมื่อเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์หัวผักกาดยี่ห้อ A (ตราสามผึ้ง) กับผลิตภัณฑ์หัวผักกาดยี่ห้อ B (ผลิตภัณฑ์หัวผักกาดยี่ห้ออื่น) พบว่า ผู้บริโภคให้การยอมรับผลิตภัณฑ์หัวผักกาดยี่ห้อ A มากกว่าผลิตภัณฑ์หัวผักกาดยี่ห้อ B ทั้งด้านสี กลิ่น รสชาติ และเนื้อสัมผัส ข้อมูลทิศทางความพอดีของผลิตภัณฑ์หัวผักกาดยี่ห้อ A (ตราสามผึ้ง) พบว่า รสหวาน และความกรอบ มีความพอดีแล้ว ส่วนเรื่องด้านสี กลิ่น และรสเค็ม ควรปรับปรุงให้มีสี กลิ่น และรสเค็มลดลงเล็กน้อย สำหรับข้อมูลส่วนประสมทางการตลาด พบว่า ผู้บริโภคให้ความสำคัญต่อบรรจุภัณฑ์ในรูปแบบซองพลาสติกใสมีซิปล็อค มีการตั้งราคาเหมาะสมกับปริมาณ การจัดจำหน่ายที่ร้านสะดวกซื้อเซเว่นอีเลฟเว่น และด้านการส่งเสริมการตลาดให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการขายในรูปแบบของการลดราคา การโฆษณาผลิตภัณฑ์โดยใช้ป้ายโฆษณา การขายโดยพนักงานขายให้ข้อมูลอธิบายได้เป็นอย่างดี และการให้ข่าวและประชาสัมพันธ์โดยการจัดนิทรรศการแสดงสินค้า | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Humanities and Social Sciences: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 4.83 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.