Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66854
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รศ.ดร.วิมลิน เหล่าศิริถาวร | - |
dc.contributor.author | ปัทมพร คุณานุกรกุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-09-23T03:56:40Z | - |
dc.date.available | 2019-09-23T03:56:40Z | - |
dc.date.issued | 2015-11 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66854 | - |
dc.description.abstract | This research aims to solve an issue regarding a production lead time which is higher than a production cycle time the customer need. Therefore, in the process of electrical interference suppression filter production of a case study, the organization cannot manufacture products to meet the customer demand. The target cycle time satisfying the customer request is 3.10 minutes per piece, yet the actual cycle time is 4.30 minutes per piece. Furthermore, the researcher uses a lean manufacturing technique to reduce lead time of production lots of 520 pieces. There are three production improvements consisting of printed circuit board assembly, resin injection process and product final electrical test combined with packing. The methods used in this study were quantitative and qualitative data including time measurement in order to calculate standard time of each process. Moreover, a value stream mapping was created both before and after improvements by adopting lean techniques ECRS and motion and time study techniques. The U-shaped layout technique also helped reduce lead time and increase productivity. As for the evaluation of results, lead time, output and efficiency before and after improvement for a period of two months were compared to each other. The solution of this problem is to develop the manufacturing process by reducing bottleneck’s cycle time. In other words, the soldering work stations should be increased. Besides, monitoring tools, methods of copper wire by using a semi-automatic winding machine and pouring resin by an automatic machine XY should be improved. The waiting time during the process, in addition, was shortened by using U-shaped layout technique. The results of this independent study could achieve the goal. The lead time was reduced to 94.12% and the output was increased to 100.90%. Furthermore, the cycle time process was decreased to 2.15 minutes per piece and the performance efficiency was improved to 83.57% without adding a number of employees. The production process was also continuously and smoothly flowing and the waiting period during the process was lessened. | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การลดเวลานำ | en_US |
dc.subject | การผลิตตัวกรองสัญญาณรบกวน | en_US |
dc.subject | การผลิตแบบลีน | en_US |
dc.title | การลดเวลานำของการผลิตตัวกรองสัญญาณรบกวนโดยใช้การผลิตแบบลีน | en_US |
dc.title.alternative | Lead Time Reduction of Noise Filter Production Using Lean Manufacturing Concept | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 658.5423 | - |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษาการเคลื่อนที่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารงานผลิต | - |
thailis.controlvocab.thash | การควบคุมการผลิต | - |
thailis.controlvocab.thash | การผลิตแบบลีน | - |
thailis.manuscript.source | ว 658.5423 ป114ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาระยะเวลานำในกระบวนการผลิตมีค่าสูงกว่ารอบเวลาในการผลิตที่ลูกค้าต้องการ ทำให้ไม่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ได้ทันตามความต้องการของลูกค้าในสายการผลิตตัวกรองสัญญาณของบริษัทกรณีศึกษา ทั้งนี้ลูกค้าต้องการรอบเวลาในการผลิตเท่ากับ 3.10 นาทีต่อตัว แต่กระบวนการมีรอบเวลาการผลิตเท่ากับ 4.30 นาทีต่อตัว โดยจะประยุกต์ใช้เทคนิคลีนเพื่อการลดเวลานำภายใต้งานหนึ่งใบสั่ง 520 ชิ้น ในกระบวนการผลิตทั้งหมด 3 ขั้นตอนคือ กระบวนการประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์บนแผงวงจร, กระบวนการฉีดเรซิ่น และกระบวนการตรวจสอบค่าทางไฟฟ้าพร้อมการบรรจุหีบห่อ การดำเนินงานเริ่มจากการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ และคุณภาพ พร้อมการจับเวลาหาเวลามาตรฐานการผลิตของแต่ละกระบวนการย่อย รวมไปถึงการสร้างแผนผังสายธารคุณค่าก่อนการปรับปรุง และหลังการปรับปรุง โดยมีการนำเอาเทคนิคลีน คือ เทคนิคอีซีอาร์เอส (ECRS) และการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา รวมถึงเทคนิคการจัดวางผังรูปตัวยู มาช่วยลดเวลานำ และเพิ่มปริมาณผลผลิต โดยการประเมินผลการวิจัยจะวิเคราะห์ผลโดยการเปรียบเทียบ เวลานำ ผลผลิต และประสิทธิภาพการผลิต ก่อนการปรับปรุง 2 เดือน และหลังการปรับปรุง 2 เดือน การปรับปรุงเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว ได้ทำการปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยการลดรอบเวลาที่เป็นคอขวด กล่าวคือ การเพิ่มสถานีงานการบัดกรี, การปรับปรุงเครื่องมือตรวจสอบการประกอบสลับ, การปรับปรุงวิธีการพันเส้นลวดทองแดงโดยใช้เครื่องพันลวดทองแดงกึ่งอัตโนมัติ และการปรับปรุงการเทเรซิ่นโดยเครื่องคลื่อนที่อัตโนมัติ ทั้งนี้ได้มีการลดระยะเวลาการรอคอยระหว่างกระบวนการโดยการเปลี่ยนผังการผลิตโดยใช้เทคนิคการจัดวางผังสายการผลิตรูปตัวยู โดยผลจากการวิจัยสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ คือ สามารถลดเวลานำได้ 94.12% และเพิ่มปริมาณผลผลิต 100.90% โดยกระบวนการมีรอบเวลาการผลิตลดลงเท่ากับ 2.15 นาทีต่อตัว อีกทั้งประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้น 83.57% โดยที่ไม่มีการเพิ่มจำนวนพนักงาน กระบวนการผลิตมีการไหลอย่างต่อเนื่อง ราบเรียบ มีระยะเวลาการรอคอยระหว่างกระบวนการลดลง | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 3.71 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.