Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66796
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ประพจน์ รัตตมณี" | en_US |
dc.contributor.author | ดนัย วันทนากร | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-09-17T08:55:04Z | - |
dc.date.available | 2019-09-17T08:55:04Z | - |
dc.date.issued | 2562 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 216-230 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9695 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_2/19.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66796 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่องการปรับปรุงกระบวนการก่อสร้างของงานติดตั้งชิ้นส่วนสำเร็จของโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว (ส่วนเหนือ) ด้วยการนำคานสำเร็จรูปกล่อง (Segmental Box Girder) จำนวนหนึ่งมาเรียงต่อกันเป็นพื้นสะพานทางวิ่งในโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีเขียว (ส่วนเหนือ) นั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาปัจจัยที่ทำให้การปฏิบัติงานขาดประสิทธิภาพ ควบคู่ไปกับการเก็บรวบรวมข้อมูลด้านเวลาและต้นทุนในขั้นตอนการติดตั้งชิ้นส่วนของระบบการทำงาน แบบเดิมเพื่อนำอุปสรรคเหล่านั้นไปปรับปรุงการติดตั้งจนได้ระบบการทำงานรูปแบบใหม่แล้วนำระบบติดตั้งแบบใหม่นี้ไปใช้งานจริงพร้อมทั้งเก็บข้อมูลด้านเวลาและต้นทุนอีกคร้ังเพื่อทำการเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างการทำงานด้วยระบบการติดตั้งแบบใหม่กับระบบการติดตั้งแบบเดิม ผลการศึกษาพบว่าปัจจยัหลักที่ทำให้ระบบการติดตั้งขาดประสิทธิภาพอันส่งผลกระทบต่อระยะเวลาและต้นทุน การก่อสร้างคือการวางแผนระบบการทำงานแบบเรียงกันเป็นลูกโซ่การจัดลำดับขั้นตอนการทำงานและวิธีการติดตั้งที่ไม่เหมาะสม รวมท้งัขอ้จา กดั ทางดา้นการจราจรจากการปรับปรุงระบบการติดต้ งัในรูปแบบใหม่ดว้ยการจดัลา ดบัข้ นั ตอน ให้เหมาะสมพร้อมทั้งเพิ่มขั้นตอนที่สามารถทำคู่ขนานกันไปได้และพิจารณาสายงายวิกฤติ(CPM/PERT) ผลลัพธ์ที่ได้ทำให้สามารถลดกระบวนการทำงานจากเดิมท้ังหมด 35 ข้ันตอน ลงเหลือ 34 ข้ันตอน และกิจกรรมวิกฤตจากเดิม 32 ขั้นตอนลดลงเหลือเพียง 27 ขั้นตอน ในการเปรียบเทียบเวลาเฉลี่ยและต้นทุนเฉลี่ยของการติดตั้งชิ้นส่วนจากท้ังสองระบบ สรุปได้ว่าเวลาการปฏิบัติงานและต้นทุนการติดตั้งของระบบการทำงานในรูปแบบใหม่สามารถลดลงจากระบบทำงานรูปแบบเดิมได้โดยเฉลี่ยประมาณร้อยละ 25.76 และ 24.43 ต่อหนึ่งช่วงพื้นสะพานทางวื่งตามลำดับ | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ก่อสร้าง | en_US |
dc.subject | ชิ้นส่วนสำเร็จ | en_US |
dc.subject | โครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว (ส่วนเหนือ) | en_US |
dc.title | การปรับปรุงกระบวนการก่อสร้างในงานติดตั้งชิ้นส่วนสำเร็จของโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว (ส่วนเหนือ) | en_US |
dc.title.alternative | Improvement for Segmental Box Girder for Installation Process of Mass Rapid Transit, The Green Line Project (Northern Zone) | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.