Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66793
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิทิต แซ่ลิ่ม"en_US
dc.contributor.authorพรชัย พฤกษ์ภัทรานนต์en_US
dc.contributor.authorกิตติคุณ ทองพูลen_US
dc.date.accessioned2019-09-17T08:55:04Z-
dc.date.available2019-09-17T08:55:04Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 203-215en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_2/18.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66793-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractบทความนี้นำเสนอระบบการเลือกตำแหน่งและตรวจสอบคุณภาพของอิเล็กโทรดสำหรับวัดสัญญาณคลื่นไฟฟ้า กล้ามเนื้อ โดยใช้การวิเคราะห์ค่าอิมพีแดนซ์ที่เกิดจากอิเล็กโทรดและผิวหนัง (electrode-skin impedance) ในการบ่งบอกถึงคุณภาพของอิเล็กโทรดในการวัดสัญญาณไฟฟ้ากล้ามเนื้อระบบการวัดอิมพีแดนซ์ใช้AD5933 ในการวัดค่า อิมพีแดนซ์ที่เกิดจากอิเล็กโทรดและผิวหนัง ซึ่งสามารถวัดอิมพีแดนซ์ได้ในช่วง 1 k - 10 M ในย่านความถี่ตั้งแต่ 5 kHz-100 kHz โดยได้ออกแบบการสอบเทียบอัตโนมัติ(Auto calibration) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการวัด อิมพีแดนซ์ให้มีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น AD5933 ทำงานบนไมโครคอนโทรลเลอร์Arduino Mega 2560 ควบคุมและแสดงผลด้วยคอมพิวเตอร์จากการทดลองพบว่าที่ความถี่5 kHz ในการวดัอิมพีแดนซ์ช่วง 1 kΩ – 1 MΩ ระบบสามารถ วัดอิมพีแดนซ์ไดอ้ย่างถูกต้องมีความผิดพลาดน้อยกว่า 2% แต่ในการวัดอิมพีแดนซ์ช่วง 1 MΩ – 10 MΩ มีความผิดพลาด ที่สูงและจากการวัดค่าอิมพีแดนซ์ที่เกิดจากอิเล็กโทรดและผิวหนังเปรียบเทียบกับคุณภาพของสัญญาณไฟฟ้ากล้ามเนื้อโดย ใช้อัตราส่วนของสัญญาณต่อสัญญาณรบกวน (signal to noise ratio, SNR) ในการวิเคราะห์พบว่าค่าอิมพีแดนซ์ที่เกิดจากอิเลก็โทรดและผิวหนังที่ต่ำจะให้คุณภาพของสัญญาณไฟฟ้ากล้ามเนื้อที่ดีกว่าค่าอิมพีแดนซ์ที่เกิดจากอิเล็กโทรดและผิวหนังที่สูงการตรวจสอบคุณภาพและเลือกตำแหน่งการติดของอิเล็กโทรดสำหรับวัดสัญญาณไฟฟ้ากล้ามเนื้อสามารถใช้ค่าอิมพีแดนซ์ที่เกิดจากอิเล็กโทรดและผิวหนังในการวิเคราะห์ได้และได้นำไปประยุกต์ใช้กับอิเล็กโทรดแบบตาราง (electrode grid) ขนาด 3  3 เพื่อเป็นการเลือกคู่อิเลก็โทรดที่เหมาะสมในการวัดสัญญาณไฟฟ้ากล้ามเนื้อให้มีคุณภาพen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอิเล็กโทรดen_US
dc.subjectสัญญาณคลื่นไฟฟ้าen_US
dc.subjectกล้ามเนื้อen_US
dc.titleการพัฒนาระบบสำหรับเลือกตำแหน่งและตรวจสอบคุณภาพของอิเล็กโทรดสำหรับวัดสัญญาณคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อen_US
dc.title.alternativeDevelopment of automatic electrode position selection and electrode integrity determination system for electromyography signal measurementen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.