Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66790
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศุภโชค เส็งหนองแบน "en_US
dc.contributor.authorจิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์en_US
dc.date.accessioned2019-09-17T08:55:04Z-
dc.date.available2019-09-17T08:55:04Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 121-130en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_2/11.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66790-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractปัญหาในกระบวนการฉีดพลาสติกที่ส่งผลกับคุณภาพของงานมากที่สุดคือจุดดำ (Black dot) วิธีที่ใช้ในการแก้ปัญหาจุดดำนั้นมีด้วยกันหลายวิธี โดยงานวิจัยนี้จะเน้นที่การเลือกวิธีการลดปัญหาจุดดำ ต่างเงื่อนไขกันทั้งในส่วนของราคาต่อหน่วย ปริมาณการผลิตต่อครั้ง เพื่อเลือกวิธีการและค่าใช้จ่ายให้เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท สำหรับโรงงาน กรณีศึกษานี้ก่อนการปรับปรุงด้วยวิธีการถอดสกรูขัดทำความสะอาด มีค่าใช้จ่ายเป็นเงิน 72,500 บาทต่อเดือน (ค่าเครื่องจักร ค่าล่วงเวลาค่าขนส่งค่าอุปกรณ์ เป็นต้น) โดยงานวิจัยนี้จะนำทฤษฎีซิกซ์ซิกม่า (Six Sigma) ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอน Define, Measure, Analyze, Improve และ Control (DMAIC) มาใช้และใช้ Cause and Effect Diagram, Cause and Effect Matrix และ Failure Mode and Effect Analysis (FMEA) ในการคัดเลือกปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเกิดจุดดำและใช้2k Factorial Design ในการหาปัจจัยที่มีผลอย่างมีนัยสำคัญกับจุดดำ ผลที่ได้จากวิธีแรกคือการถอดสกรูขัด ทำความสะอาดนั้น สามารถลดจุดดำจากเดิมลงได้50% ซึ่งวิธีนี้เหมาะสำหรับการผลิตชิ้นงานที่มีราคาต่อหน่วยค่อนข้างสูง หรือชิ้นงานที่มีการผลิตจำนวนมากวิธีที่สองคือการใช้สารเคมีเพิ่มเข้าในกระบวนการลา้งกระบอกฉีดพลาสติกโดยวิธีนี้จะให้ผลการลดจุดดำได้ประมาณ 25% ซึ่งวิธีนี้เหมาะกับการชิ้นงานที่มีราคาต่อหน่วยไม่สูงมาก และการผลิตปริมาณน้อยต่อครั้ง โดยหลังจากที่นำวิธีการลดจุดดำ และคำนวณค่าใช้จ่ายที่ใช้ไปสำหรับวิธีที่ได้เลือกให้เหมาะสมกับชนิดและประเภท ของงานนั้น สามารถลดค่าใช้จ่ายที่คิดเป็นมูลค่าเพิ่มได้ถึง 148,000 บาทต่อปีen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectประสิทธิภาพเชิงต้นทุนen_US
dc.subjectจุดดำen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมฉีดพลาสติกen_US
dc.subjectซิกซ์ซิกม่าen_US
dc.titleการวิเคราะห์ประสิทธิภาพเชิงต้นทุนในการลดจุดดำในอุตสาหกรรมฉีดพลาสติกโดยใช้แนวทางซิกซ์ซิกม่าen_US
dc.title.alternativeCost Efficiency Analyis for Black Dot Defect in Plastic Injection Process by Six Sigma Approachen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.