Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66782
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภควัฒน์ คำเครื่อง"en_US
dc.contributor.authorยศธนา คุณาทรen_US
dc.date.accessioned2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.available2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 47-65en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_2/05.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66782-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบจำลองเชิงตัวเลขระบบป้อนอากาศที่ใช้ในการเผาไหม้ช่วงขาเข้าของโรงไฟฟ้าถ่านหิน ขนาดกำลังการผลิต 300 MW โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาแนวทางลดการใช้พลังงานในกระบวนการผลิตไฟฟ้า อันเนื่องมาจากความสูญเสียในรูปของความดันตกคร่อม ผลจากแบบจำลองของระบบก่อนการปรับปรุงพบว่า ค่าความดัน ตกคร่อมสูงสุด 3 อันดับแรกได้แก่อุปกรณ์วัดอัตราการไหลข้องอ 90o และข้องอขาเข้าผลจากบริเวณที่มีความดัน ตกคร่อม สูงสุดก่อนการปรับปรุงที่กล่าวไปข้างต้น จึงเป็นที่มาของการปรับปรุงแบบจำลองแต่ละจุด โดยพบว่าการเปลี่ยนชนิด อุปกรณ์วัดอัตราการไหลจากเดิมที่เป็นแบบ Orifice Airfoil Type ซึ่งติดตั้งที่ขวางพื้นที่หน้าตัดการไหลถึง 65% มาเป็น Average Pitot Tube ที่มีลักษณะเป็นแท่งทรงกระบอกเส้นผ่านศูนย์กลาง 60 mm สามารถลดค่าความดันตกคร่อม ในระบบลงได้72% คิดเป็นกำลังงานที่ลดลง 42-54.5 kW ส่วนผลจากการปรับปรุงบริเวณข้องอทั้ง 2 ตำแหน่ง ด้วยการ ลบมุมและติดตั้ง Guide Vane เพิ่ม มีนัยสำคัญน้อยมากเมื่อเทียบกับความดันตกคร่อมภาพรวมของระบบen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectระบบป้อนอากาศen_US
dc.subjectโรงไฟฟ้าถ่านหินen_US
dc.subjectพลศาสตร์ของไหลen_US
dc.titleการวิเคราะห์ความสูญเสียช่วงขาเข้าระบบป้อนอากาศที่ใช้เผาไหม้ของโรงไฟฟ้าถ่านหินด้วยพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณen_US
dc.title.alternativeAnalysis Loss in Combustion System Suction Duct of a Coal-Fired Power Plant by CFDen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.