Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66781
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพรรษวรรณ บุณยรัตพันธุ์"en_US
dc.contributor.authorสุรชัย ลิปิวัฒนาการen_US
dc.contributor.authorชัยวัฒน์ ขยันการนาวีen_US
dc.contributor.authorพรรณพิมพ์ พุทธรักษา มะเปี่ยมen_US
dc.date.accessioned2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.available2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 66-79en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_2/06.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66781-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจำลองการไหลของน้ำใต้ดินและการรุกตัวของน้ำเค็มในสภาพปัจจุบัน และ คาดการณ์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคตรอบบ่อเก็บน้ำ ในพื้นที่ขุมเหมืองนาเตย อำเภอท้ายเหมืองจังหวัดพังงา ที่จะถูกพัฒนามาเป็นบ่อเก็บน้ำ ดิบเพื่อผลิตน้ำประปา ให้มีกำลังการสูบน้ำ จากบ่อ 4 ระยะคือ 24,000, 48,000, 72,000 และ 96,000 ลบ.ม./วัน โดยได้นำแบบจำลองการไหลของน้ำใต้ดิน 3 มิติVisual MODFLOW 2011.1 มาใช้เป็นเครื่องมือคำนวณ เมื่อทำการปรับเทียบและตรวจพิสูจน์ทางชลศาสตร์และคุณภาพน้ำแล้วพบว่าในกรณีสภาพปัจจุบันระดับน้ำใต้ดินมีค่าผันแปรอยู่ระหว่าง 0.0-7.0 เมตร โดยน้ำใต้ดินจะเคลื่อนตัวไหลจากทิศเหนือและใต้ลงสู่คลองบางทองที่ไหลผ่านพื้นที่ ศึกษาและไหลต่อเนื่องลงไปสู่ทะเลอันดามันในที่สุด ส่วนการรุกตัวของน้ำเค็มจะเกิดขึ้นน้อยในทางตรงกันข้ามเมื่อสูบน้ำ ด้วยอัตรา 72,000 และ 96,000 ลูกบาศก์เมตร/วัน ระดับน้ำใต้ดินมีแนวโน้มลดลงจากเดิมค่อนข้างมาก ส่งผลให้การกระจายตัวของความเค็มรอบบ่อเก็บน้ำขยายตัวกว้างขึ้นทั้งนี้ในทุกกรณีความเค็มจะมีการรุกตัวตามแนวชายฝั่งทะเลเข้ามา ประมาณ 500-1,000 เมตรและมีการรุกตัวและกระจายตัวตามแนวคลองบางทองจนถึงบ่อเก็บน้ำซึ่งมีค่าความเค็มบริเวณบ่อเก็บน้ำอยู่ในช่วง 100-500 มก./ลิตรen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการไหลen_US
dc.subjectน้ำใต้ดินen_US
dc.subjectน้ำเค็มen_US
dc.subjectบ่อเก็บน้ำen_US
dc.titleการจำลองการไหลของน้ำใต้ดินและการรุกตัวของน้ำเค็มรอบบ่อเก็บน้ำ จังหวัดพังงาen_US
dc.title.alternativeSimulation of Groundwater Flow and Saltwater Intrusion around a Storage Pond in Phang-nga Provinceen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.