Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66780
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอานนท์ อิศรมงคลรักษ์"en_US
dc.contributor.authorรัฐกล วุฑฒวิภาตen_US
dc.date.accessioned2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.available2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 80-85en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_2/07.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66780-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractบทความนี้เป็นการวิเคราะห์คุณสมบัติของประเภทวัสดุที่ทำให้ลดค่าความเข้มเสียงด้วยการจำลองผลผ่านสมการเชิงอนุพันธ์โดยอาศัยระเบียบวิธีไฟไนท์อิลิเมนต์โดยบทความนี้มุ่งเน้นวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของวัสดุประเภทคอนกรีต และประเภทไม้โดยจำลองให้วัสดุทั้งสองประเภทใช้สำหรับจัดทำเป็นห้องทดสอบที่มีแหล่งกำเนิดเสียงที่มีค่าความถี่เสียง เปลี่ยนแปลงตั้งแต่1,000 Hz ถึง 20,000 Hz อีกทั้งยังเปรียบเทียบผลการจำลองกับมาตราฐาน OSHA และจากผลการจำลองแสดงให้เห็นได้ว่าระดับความถี่เสียงทั่วไปที่มนุษย์สัมผัส ซึ่งไม่เกิน 5,000 Hz สามารถใช้วัสดุประเภทคอนกรีต มาช่วยลดค่าความเข้มเสียงได้มากกว่าประเภทไม้ซึ่งค่าประสิทธิภาพของคอนกรีตและไม้ที่ลดค่าความเข้มเสียงคิดเป็น 58.45% และ 51.70% ตามลำดับen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectค่าความเข้มของเสียงen_US
dc.subjectความถี่เสียงen_US
dc.titleการวิเคราะห์ประเภทของวัสดุที่มีผลต่อค่าความเข้มของเสียงที่มีการเปลี่ยนแปลงความถี่เสียงen_US
dc.title.alternativeAnalysis a material effecting to intensity of sound under variable of frequenciesen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.