Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66776
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธีรโชติ ตรีเภรี"en_US
dc.contributor.authorประภาศ เมืองจันทร์บุรีen_US
dc.date.accessioned2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.available2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 28-35en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_2/03.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66776-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractการเชื่อมพอกแข็งเป็นเทคนิคหลักในการปรับปรุงและยืดอายุการใช้งานของชิ้นส่วนในทางวิศวกรรม วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือเพื่อศึกษาพฤติกรรมการสึกหรอแบบขัดสีของชั้นพอกแข็งบนเหล็กกลา้ 3.5% โครเมียม ที่เชื่อมด้วยกระบวนการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมแกนฟลักซ์อันประกอบด้วยการเชื่อมแบบกึ่งอัตโนมัติและอัตโนมัติที่มีชั้น พอกแข็งจำนวน 1 ชั้น และ 3 ชั้น โดยใช้ลวดเชื่อมชนิดออสเทนนิติกสแตนเลสในการเชื่อมชั้น รองพื้นและลวดชนิดมา เทนซิติกในการเชื่อมชั้น พอกแข็ง จากผลการทดสอบพบว่า ไม่พบข้อ บกพร่องในบริเวณกระทบร้อนและบริเวณอื่น ๆ การเชื่อมพอกแข็งแบบกึ่งอัตโนมัติมีความต้านทานการสึกหรอสูง การเชื่อมพอกแข็งแบบอัตโนมัติเนื่องจากมีปริมาณ มาร์เทนไซต์มากกว่าจึงทำให้มีค่าความแข็งมากกว่า นอกจากนี้การเชื่อมพอกแข็งแบบ 3 ชั้นมีความต้านทานการ สึกหรอสูงกว่าการเชื่อมพอกแข็งแบบ 1 ชั้น เนื่องจากเกิดการเจือจางจากชั้นรองพื้นน้อยกว่า โดยงานวิจัยนี้สภาวะการเชื่อม พอกแข็งที่ดีที่สุดคือการเชื่อมพอกแข็งแบบกึ่งอัตโนมัติที่มีจำนวนชั้นพอกแข็ง 3 ชั้นen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectหล็กกล้า 3.5%โครเมียมen_US
dc.subjectการเชื่อมพอกแข็งen_US
dc.subjectการสึกหรอแบบขัดสีen_US
dc.subjectกระบวนการเชื่อมด้วยลวดแกนฟลักซ์en_US
dc.titleการศึกษาพฤติกรรมการสึกหรอของชั้นเชื่อมพอกแข็งบนเหล็กกล้า 3.5% โครเมียมโดยการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมแกนฟลักซ์en_US
dc.title.alternativeThe Study of Wear Behavior of Hardfacing layer on 3.5% Cr steel by Flux Cored Wire Arc Welding Processen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.