Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66775
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวีระชัย อารีรักษ์"en_US
dc.contributor.authorจิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์en_US
dc.date.accessioned2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.available2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 36-46en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_2/04.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66775-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาสัดส่วนที่เหมาะสมของการใช้หินฝุ่นเป็นส่วนผสมในการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ โดยใช้แนวทางซิกซ์ซิกม่า 5 ขั้นตอน วิธีการวิจัยเริ่มจากทำการกำหนดขอบเขตของปัญหา (Define) ก็คือการหาแนวทาง ในการนา หินฝุ่นมาใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตคอนกรีตเพื่อปรับปรุงคุณภาพและลดต้นทุนการเพิ่มส่วนเผื่อปูนซีเมนต์ จากนั้นทำการวัดและรวบรวมข้อมูล(Measure) เพื่อวัดประสิทธิภาพของวัตถุดิบและระบบการชั่งตวงวัตถุดิบจากนั้น ขั้นตอนต่อมาได้ทำการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (Analyze) ด้วยการระดมสมองระหว่างผู้เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างแผนภาพ สาเหตุและผลและนำแต่ละปัจจัยมาสร้างแผนภูมิพาเรโต ทำให้สามารถระบุถึงสาเหตุที่ส่งผลกระทบต่อปัญหามากที่สุด ต่อมาทำการทดสอบสมมติฐานทางสถิติเพื่อพิสูจน์ว่าสาเหตุดังกล่าวว่าส่งผลกระทบจริงหรือไม่แล้วนำปัจจัยที่มีผลกระทบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติมาทำการปรับปรุงแก้ไข(Improve) โดยทำการออกแบบการทดลองแบบฟูลแฟคทอเรียลเพื่อหา ค่าของปัจจัยที่เหมาะสม และสุดท้ายทำการควบคุม (Control) โดยผลหลังการปรับปรุง พบว่า สามารถลดปริมาณส่วนเผื่อ ปูนซีเมนต์ลงได้คิดเป็นต้นทุนวัตถุดิบที่ลดลงได้ที่ 67 บาทต่อลูกบาศก์เมตร หรือสามารถลดต้นทุนลงได้6.13% ของต้นทุนรวมก่อนการปรับปรุงen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectซิกซ์ซิกม่าen_US
dc.subjectหินฝุ่นen_US
dc.subjectคอนกรีตผสมเสร็จen_US
dc.titleสัดส่วนที่เหมาะสมของหินฝุ่นในคอนกรีตผสมเสร็จโดยวิธีซิกซ์ซิกม่าen_US
dc.title.alternativeAppropriate Proportion of Dust Rock In Ready Mix Concrete by Six sigmaen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.