Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66770
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorฉัตรชัย พรโสภณ"en_US
dc.contributor.authorวีรเทพ พงษ์ประเสริฐen_US
dc.contributor.authorปาณิสรา เทพกุศลen_US
dc.contributor.authorไสว บูรณพานิชพันธุ์en_US
dc.contributor.authorจิราพร กุลสารินen_US
dc.date.accessioned2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.available2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 35, 2 (พ.ค. 2562), 271-281en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/189593/132770en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66770-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractกระบวนการเลี้ยงเพิ่มจำนวนด้วงเต่าสีส้ม (Micraspis discolor (Fabricius)) (Coleoptera: Coccinellidae) เพื่อใช้ในการควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี มักประสบปัญหาขาดแคลนเพลี้ยอ่อนที่เป็นอาหาร ดังนั้นจึงได้ดำเนินการศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล และเพลี้ยจักจั่นสีเขียว เป็นแหล่งอาหารทดแทนขึ้น โดยอาศัยข้อมูลศักยภาพทางชีวภาพและตารางชีวิตของด้วงเต่าสีส้มที่เลี้ยงด้วยเพลี้ยทั้งสองชนิดเปรียบเทียบกับเพลี้ยอ่อนถั่วเป็นเกณฑ์ ผลการศึกษาพบว่าระยะการเจริญเติบโตของด้วงเต่าสีส้มตั้งแต่ระยะไข่จนถึงตัวเต็มวัย เมื่อเลี้ยงด้วยเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล และเพลี้ยจักจั่นสีเขียว มีค่าเฉลี่ย 21.46 ± 1.63 และ 18.68 ± 3.21 วัน ใกล้เคียงกับเพลี้ยอ่อนถั่ว 19.7 ± 1.54 วัน จากตารางชีวิตแบบชีววิทยาของด้วงเต่าสีส้ม เมื่อเลี้ยงด้วยเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลและเพลี้ยจักจั่นสีเขียวด้วงเต่าสีส้ม มีอัตราการขยายพันธุ์สุทธิ (Ro) เท่ากับ 11.0000 และ 15.2300 เท่า ค่าสัมประสิทธิ์การเพิ่มทางกรรมพันธุ์ (rc) เท่ากับ 0.0660 และ 0.0738 เท่า ชั่วอายุขัยของกลุ่ม (Tc) เท่ากับ 36.3455 และ 36.9163 วัน และมีอัตราการเพิ่มที่แท้จริง (l) เท่ากับ 1.0682 และ 1.0765 เท่า สูงกว่าการเลี้ยงด้วยเพลี้ยอ่อนซึ่งมีค่า Ro เท่ากับ 8.7000 เท่า rc เท่ากับ 0.0648 เท่า (Tc) เท่ากับ 33.4023 วัน และ l เท่ากับ 1.0669 เท่า ตามลำดับ และผลการวิเคราะห์ศักยภาพทางชีวภาพด้วยตารางชีวิตแบบ partial ecological life table พบว่าเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล และ เพลี้ยจักจั่นสีเขียว มีอัตราการตายเกิดขึ้นตลอดเวลาในทุกช่วงอายุ หรือมีอัตราการตายค่อนข้างคงที่ เส้นกราฟแสดงการรอดชีวิตเป็นแบบ Type II เหมือนกัน เช่นเดียวกับการใช้เพลี้ยอ่อนถั่วในการเลี้ยง (P ≥ 0.05)en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectด้วงเต่าสีส้มen_US
dc.subjectเหยื่อทดแทนen_US
dc.subjectเพลี้ยอ่อนถั่วen_US
dc.subjectเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลen_US
dc.subjectเพลี้ยจักจั่นสีเขียวen_US
dc.subjectตารางชีวิตen_US
dc.titleศักยภาพทางชีวภาพและตารางชีวิตของด้วงเต่าสีส้มเมื่อเลี้ยงด้วยเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลและเพลี้ยจักจั่นสีเขียวen_US
dc.title.alternativeBiotic Potential and Life Table of Lady Beetle Micraspis discolors when Fed on Brown Planthopper and Green Leafhopperen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.