Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66767
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเบญจพร พรมเสนวงศ์"en_US
dc.contributor.authorสุนทร คำยองen_US
dc.contributor.authorนิวัติ อนงค์รักษ์en_US
dc.contributor.authorพันธุ์ลพ หัตถโกศen_US
dc.date.accessioned2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.available2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 35, 2 (พ.ค. 2562), 239-251en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/189368/132752en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66767-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractศึกษาเปรียบเทียบลักษณะดินที่เกิดจากหินปูนในพื้นที่เกษตรกรรมและป่าธรรมชาติในลุ่มน้ำแม่ตาว อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก โดยขุดหลุมดินทั้งหมด 6 หลุม ในพื้นที่เกษตรกรรม 3 หลุม และพื้นที่ป่าไม้ 3 หลุม ที่มีความกว้างและลึก 1.5 x 1 m เก็บตัวอย่างดินที่ความลึก 6 ระดับ คือ 0-10, 10-20, 20-40, 40-60, 60-80 และ 80-100 cm เพื่อวิเคราะห์สมบัติของดินทางกายภาพและเคมี พบว่า ดินเกษตรมีสมบัติทางกายภาพใกล้เคียงกับดินในป่า ดินชั้นไถพรวน (20 cm) มีความหนาแน่นค่อนข้างต่ำ เนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวและดินเหนียว ปริมาณกรวดลดลงในดินเกษตรที่ใช้เพาะปลูกมานาน ปฏิกิริยาผันแปรจากเป็นกลางถึงกรดจัด อินทรียวัตถุและคาร์บอนมีค่าผันแปรจากปานกลางถึงสูง แต่มีไนโตรเจนต่ำ มีฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์โดยเฉลี่ยปานกลางและโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้สูง แคลเซียมและแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้มีค่าปานกลาง โดยมีความผันแปรระหว่างหลุมดินและตามความลึก ปริมาณอินทรียวัตถุ คาร์บอนและไนโตรเจนต่อพื้นที่ รวมทั้งแคลเซียมและแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดินชั้นไถพรวนมีค่าต่ำกว่าดินป่าไม้ ซึ่งเกิดจากการสูญเสียหน้าดินจากการเซาะกร่อนโดยน้ำ แต่ปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมต่อพื้นที่กลับมีค่าสูงกว่า ซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการใส่ปุ๋ยen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectดินเกษตรen_US
dc.subjectดินป่าไม้en_US
dc.subjectลุ่มน้ำแม่ตาวen_US
dc.subjectลักษณะดินen_US
dc.subjectสมบัติของดินen_US
dc.titleลักษณะดินที่เกิดจากหินปูนระหว่างพื้นที่เกษตรกรรมและป่าไม้ในลุ่มน้ำแม่ตาว อำเภอแม่สอด จังหวัดตากen_US
dc.title.alternativeSoil Characteristics Derived from Limestone Between Agricultural and Forest Lands in Mae Tao Watershed, Mae Sot District, Tak Provinceen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.