Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66538
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนพพล อาชามาสen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:30Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:30Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationนิติสังคมศาสตร์ 11, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 22-54en_US
dc.identifier.issn2672-9245en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/133176/118539en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66538-
dc.descriptionCMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆen_US
dc.description.abstractบทความชิ้นนี้พิจารณาพัฒนาการของตัวบทและการบังคับใช้ข้อหาประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116 หรือข้อหายุยงปลุกปั่น ซึ่งอยู่ในหมวดความผิดต่อความมั่นคงของรัฐ อย่างสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์และบริบททางการเมืองของประเทศไทย โดยต้องการชี้ให้เห็นว่าข้อกล่าวหานี้เป็นมรดกตกทอดจากการตรากฎหมายในระบอบสมบูรณาญาสิทธิ ราชย์ที่กรอบคิดเรื่องรัฐ รัฐบาล และผู้ปกครองรัฐ ยังไม่ได้แยกออกจากกัน ลักษณะการบังคับใช้ข้อหานี้ยังสัมพันธ์กับลักษณะการใช้อำนาจของผู้ปกครองในแต่ละช่วงเวลา ข้อหามาตรา 116 ถูกใช้อย่างเข้มข้นมากขึ้นในช่วงยุครัฐประหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ โดยเฉพาะการใช้ร่วมกันกับข้อหาเรื่องการกระทำการอันเป็นคอมมิวนิสต์ในอดีต และยังปรากฏคดีจำนวนหนึ่งในช่วงหลังการรัฐประหาร 2549 ภายใต้บริบทความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างสีเสื้อ จนกระทั่งในช่วงหลังรัฐประหารของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) การใช้ข้อกล่าวหานี้ก็พุ่งสูงขึ้นอย่างไม่เคยมีมาก่อน คดีที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เป็นคดีที่เกี่ยวข้องกับเสรีภาพในการแสดงออกและเสรีภาพในการชุมนุม โดยเฉพาะการแสดงออกในทางวิพากษ์วิจารณ์หรือคัดค้านผู้ปกครองในขณะนั้น ผู้ปกครองโดยเฉพาะหลังการรัฐประหาร ได้ใช้ข้อกล่าวหานี้เป็นเครื่องมือในการยับยั้งเสรีภาพในการแสดงออกและสร้างภาระทางคดีให้กับผู้ถูกกล่าวหา พร้อมกับการตีความข้อกล่าวหานี้ประหนึ่งว่ารัฐบาลหรือผู้ปกครองกลายเป็น รัฐ เสียเอง และความมั่นคงของผู้ปกครองกลับกลายไปเป็น ความมั่นคงของรัฐ การทำความเข้าใจการใช้ข้อหายุยงปลุกปั่นอย่างมีประวัติศาสตร์ จึงเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยสะท้อนถึงระบอบอำนาจนิยมในบริบทการเมืองไทยได้อีกแง่มุมหนึ่งen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116en_US
dc.subjectยุยงปลุกปั่นen_US
dc.subjectเสรีภาพในการแสดงออกen_US
dc.subjectความมั่นคงของรัฐen_US
dc.subjectอำนาจนิยมen_US
dc.titleเมื่อผู้ปกครองสถาปนาตนเป็นรัฐ: ข้อหา ยุยงปลุกปั่น กับ การบังคับใช้กฎหมายแบบอำนาจนิยมในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeWhen the rulers become the state: Sedition Law and Authoritarian Regime in Thailanden_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.