Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66535
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:30Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:30Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 30, 2 (ก.ค.-ธ.ค 2561), 137-176 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9563 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/163988/118805 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66535 | - |
dc.description | วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปี พ.ศ.2513 มีบรรณาธิการและกองบรรณาธิการ ที่ทำงานร่วมกันทั้งที่มาจากคณาจารย์ในคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอาจารย์นักวิชาการภายนอก จากมหาวิทยาลัยชั้นนำทางด้านสังคมศาสตร์ของประเทศไทย วารสารสังคมศาสตร์ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญคือเพื่อเผยแพร่บทความวิชาการ หรืองานวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะทางด้านมานุษยวิทยา การศึกษาการพัฒนาทางด้านภูมิศาสตร์ สังคมวิทยา และสตรีศึกษา ที่มีคุณภาพสู่สังคมวงกว้าง ต่อมาในปี 2561 วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เริ่มจัดทำวารสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) | en_US |
dc.description.abstract | บทความนี้นําเสนอปฏิบัติการต่อรองของผู้ค้าข้ามพรมแดนขนาดย่อยในการเคลื่อนย้ายสินค้าข้ามเขตแดนการเมืองและเขตแดนรัฐชาติบริเวณชายแดนไทย-เมียนมาที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ประเทศไทย เชื่อมต่อกับรัฐฉาน ประเทศเมียนมา ตลอดจนแนวทางของผู้ค้าในการเปลี่ยนแปลงความหมายของสินค้าเมื่อต้องเผชิญหน้ากับกฎเกณฑ์ของรัฐสมัยใหม่ ผู้วิจัยศึกษาสถานการณ์ดังกล่าวผ่านแนวคิด พื้นที่กฎเกณฑ์ (regulatory space) คือพื้นที่ที่กิจกรรมหรือสินค้าต้องเผชิญกับ และ/หรือฝ่าฝืนตอกฎระเบียบหรือบรรทัดฐานทางสังคม และนำไปสู่การที่ผู้ค้าสร้างและเปลี่ยนแปลงความหมายของสินค้าเพื่อแสวงหากําไร และในหลายสถานการณ์ต้องสร้างความสัมพันธ์ตางตอบแทนในหลายรูปแบบกับชนชั้นนำและเจ้าหน้าที่รัฐ เช่น การจ่ายภาษีอย่างไม่เป็นทางการ การให้ของกํานัล และการให้สินบน ผลที่เกิดขึ้นตามมาคือการเปลี่ยนแปลงความหมายของสินค้าได้การค้าชายแดนกับความมั่นคงของมนุษย์ พร่าเลือนเส้นแบ่งระหว่างการให้ของกํานัลและการให้สินบน จนทําให้การกระทําที่ผิดกฎหมาย (illegal) กลายเป็นสิ่งที่ยอมรับได้ (licit) ในระดับท้องถิ่น | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ความหมายของสินค้า | en_US |
dc.subject | พื้นที่กฎเกณฑ์ | en_US |
dc.subject | การค้าข้ามพรมแดน | en_US |
dc.subject | พรมแดนไทย-เมียนมา | en_US |
dc.title | พื้นที่กฎเกณฑ์ การต่อรองและการเปลี่ยนแปลงความหมายของสินค้าในการค้าข้ามพรมแดนไทย-เมียนมา | en_US |
dc.title.alternative | Regulatory Space, Negotiations, and the Divergence of Commodity Meanings on the Thai-Myanmar Cross-border Trade | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.