Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66534
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สิริไพลิน สิงห์อินทร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:30Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:30Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 30, 2 (ก.ค.-ธ.ค 2561), 179-212 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9563 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/163990/118806 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66534 | - |
dc.description | วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปี พ.ศ.2513 มีบรรณาธิการและกองบรรณาธิการ ที่ทำงานร่วมกันทั้งที่มาจากคณาจารย์ในคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอาจารย์นักวิชาการภายนอก จากมหาวิทยาลัยชั้นนำทางด้านสังคมศาสตร์ของประเทศไทย วารสารสังคมศาสตร์ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญคือเพื่อเผยแพร่บทความวิชาการ หรืองานวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะทางด้านมานุษยวิทยา การศึกษาการพัฒนาทางด้านภูมิศาสตร์ สังคมวิทยา และสตรีศึกษา ที่มีคุณภาพสู่สังคมวงกว้าง ต่อมาในปี 2561 วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เริ่มจัดทำวารสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) | en_US |
dc.description.abstract | บ้านแจมป๋อง ตําบลหลายงาว, บ้านห้วยลึก ตําบลม่วงยาย อำเภอเวียงแก่นและบ้านเลาอู ตําบลตับเต่า อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย เป็นพิกัดสําคัญบนเส้นพรมแดนไทย-ลาว เนื่องจากเป็นที่ตั้งของจุดผ่อนปรนทางการค้า พื้นทีซึ่งชนชายแดนได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน ผู้ค้าชายแดน ณ จุดผ่อนปรนฯ ทั้ง 3 แห่งเป็นผู้ให้ข้อมูลหลักของงานศึกษานี้ โดยที่ผู้เขียนมีความสนใจว่า ท่ามกลางบริบทการพัฒนาอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงที่ดึงประโยชน์ทางเศรษฐกิจออกไปจากมือคนตัวเล็กตัวน้อย ผู้ค้าชายแดนเหล่านี้มีทุนและใช้ทุนอะไร อย่างไร ในการดํารงชีพข้อค้นพบของงานศึกษานี้คือ เรื่องเล่าของชุมทางการค้าชายแดน สะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์เชิงอํานาจระหว่างรัฐชาติกับชุมชนชายแดน การเปลี่ยนแปลงชุมชนที่เกิดจากการกําหนดเส้นพรมแดนและการสร้างจุดผ่อนปรนทางการค้าสร้างโอกาสให้คนในชุมชนมีทางเลือกในการประกอบอาชีพมากขึ้น ทั้งนี้ ในระบบเศรษฐกิจแบบไมเป็นทางการ ผู้ค้าชายแดนมีส่วนสำคัญอยางมากในการผลักเศรษฐกิจ ชายแดนให้ขับเคลื่อน พวกเขามีความสามารถในการสร้างและใช้ ความไม่เป็นทางการ อาทิ การใช้ความสัมพันธ์เครือญาติข้ามพรมแดน, ความสัมพันธ์ของเครือขายชาติพันธุ์ และความเป็นคนในชุมชนชายแดน ผู้ค้าชายแดนมีความสามารถ ในการใช้และปรับเปลี่ยนทุนทางสังคมนี้ไปเป็นทุนอื่น เช่น ทุนทางสัญลักษณ์และทุนทางเศรษฐกิจ อันเป็นไปเพื่อประโยชน์ทั้งต่อการดํารงชีพของตนตลอดจนการรักษาไว้ซึ่งประโยชน์ของชุมชนด้วย | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ทุน | en_US |
dc.subject | การดํารงชีพ | en_US |
dc.subject | ผู้ค้าชายแดน | en_US |
dc.subject | ตลาดชายแดน | en_US |
dc.title | ทุนของผู้ค้าชายแดน ณ จุดผ่อนปรนทางการค้าชายแดนไทย-ลาว 3 แห่งของจังหวัดเชียงราย | en_US |
dc.title.alternative | The Study of Capital in Possession of Cross Border Entrepreneurs at the 3 Relief Points on Thailand-Laos Border | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.