Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66520
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อัสรี มาหะมะ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:29Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:29Z | - |
dc.date.issued | 2560 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 29, 1 (ม.ค.-มิ.ย 2560), 127-159 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9563 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/165354/119727 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66520 | - |
dc.description | วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปี พ.ศ.2513 มีบรรณาธิการและกองบรรณาธิการ ที่ทำงานร่วมกันทั้งที่มาจากคณาจารย์ในคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอาจารย์นักวิชาการภายนอก จากมหาวิทยาลัยชั้นนำทางด้านสังคมศาสตร์ของประเทศไทย วารสารสังคมศาสตร์ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญคือเพื่อเผยแพร่บทความวิชาการ หรืองานวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะทางด้านมานุษยวิทยา การศึกษาการพัฒนาทางด้านภูมิศาสตร์ สังคมวิทยา และสตรีศึกษา ที่มีคุณภาพสู่สังคมวงกว้าง ต่อมาในปี 2561 วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เริ่มจัดทำวารสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) | en_US |
dc.description.abstract | ผู้คนส่วนใหญ่ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรม ศาสนา และชาติพันธุ์คือความเป็นมลายูที่นับถือศาสนา อิสลามในสังคมไทย ในรอบหลายทศวรรษที่ผ่านมาผู้คนเหล่านี้ต้องเผชิญกับ การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครอง สังคม วัฒนธรรม และศาสนา โดย เฉพาะอย่างยิ่งจากสังคมไทยที่เป็นสังคมกระแสหลักและอิทธิพลของรัฐชาติไทย ภายใต้กระบวนการทําให้กลายเป็นไทย บทความชิ้นนี้ต้องการชี้ให้เห็นถึง กระบวนการสร้างความเป็นไทย (Thai-zation) ที่มีต่อชาวมลายู มุสลิมในสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ซึ่งเกิดขึ้นทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการในพื้นที่ ผ่านด่านการเมืองการปกครองระบบการศึกษา ศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย์ ด้วยการคนคว้าจากเอกสาร การเก็บข้อมูลในภาคสนาม รวมทั้งประสบการณ์ ตรงสวนตัว โดยผู้เขียนใช้แนวคิดเทคโนโลยีทางอํานาจ (technology of power) มาเป็นกรอบในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้นในระดับพื้นที่ ทั้งนี้ ผู้เขียนนําเสนอว่าสําหรับกลุ่มชาติพันธุ์มลายูในสามจังหวัดภาคใต้แล้ว ในหลาย ทศวรรษที่ผ่านมา กระบวนการทําให้กลายเป็นไทยโดยรัฐชาติได้ก่อให้เกิด ความเปลี่ยนแปลงอย่างสําคัญในการหลอมรวมให้ชาวมลายูกลายมาเป็นคนไทย ในระดับหนึ่ง | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | กระบวนการทำให้กลายเป็นไทย | en_US |
dc.subject | เทคโนโลยทางอำนาจ | en_US |
dc.subject | มลายูมุสลิม | en_US |
dc.subject | ภาคใต้ | en_US |
dc.title | มลายูมุสลิมกับกระบวนการทำให้เป็นไทย | en_US |
dc.title.alternative | Malayu-Muslim and Thai-ization | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.