Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66510
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธนะรัตน์ รัตนกูลen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 23, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2559), 106-115en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/23_3/10Tanarat.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66510-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์ใช้การบำรุงรักษาด้วยตนเองในโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงชีวภาพ และ ปรับปรุงค่าค่าเวลาเฉลี่ยก่อนเครื่องจักรจะชำรุด (MTBF) รวมถึงเวลาเฉลี่ยที่ใช้ในการซ่อมเครื่องจักร (MTTR) โดยมีกลุ่มเครื่องจักรตัวอย่างในการประยุกต์ใช้ได้แก่ เครื่อง Generator เครื่อง Blower pump และเครื่อง Chiller ซึ่งใน งานวิจัยนี้จะดำเนินการตามหลกั 7 ขั้นตอน ของการบำรุงรักษาด้วยตนเอง เริ่มจากการทำความสะอาดเบื้องต้น การกำจัด แหล่งของปัญหาและจุดยากลำบากต่อการตรวจสอบด้วยการติดป้าย (Tag) การสร้างมาตรฐานการทำความสะอาดและ หล่อลื่น การตรวจสอบโดยรวมด้วยการสร้างบทเรียนเฉพาะจุด (OPL)การควบคุมความเป็นระเบียบ การตรวจสอบ ด้วยตนเองการบำรุงรักษาด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องผลการประยุกต์ใช้การบำรุงรักษาด้วยตนเองพบว่า พนักงานในฝ่ายผลิต และซ่อมบำรุง สามารถแก้ไขจุดบกพร่องที่ยากลำบาก ด้วยการปลดป้าย (Tag) ได้ทั้งสิ้น 14 จุด จาก 19 จุด คิดเป็น 74 เปอร์เซ็นต์และพนักงานฝ่ายผลิตสามารถเขียน OPL ได้ทั้งสิ้น 10 เรื่อง ส่วนผลจากการประเมินค่า MTBF ก่อนการประยุกต์ใช้ในปี พ.ศ. 2557 อยู่ที่ 1,653.33 นาทีและค่า MTBF หลังการประยุกต์ใช้ ในปี พ.ศ. 2558 อยู่ที่ 1,802.83 นาทีเพิ่มขึ้น 149.50 นาทีส่วนผลการประเมินค่า MTTR ก่อนการประยุกต์ใช้ในปี พ.ศ. 2557 อยู่ที่ 120.80 นาทีและ ค่า MTTR หลังการประยุกต์ใช้ในปี พ.ศ. 2558 อยู่ที่ 105.80 นาทีลดลง 15.00 นาทีen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการบำรุงรักษาด้วยตนเองen_US
dc.subjectโรงไฟฟ้าเชื่อเพลิงชีวภาพen_US
dc.titleการบำรุงรักษาด้วยตนเองในโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงชีวภาพen_US
dc.title.alternativeAutonomous Maintenance in Biofuel Power Plant)en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.