Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66508
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกษมา ศิริสมบูรณ์en_US
dc.contributor.authorภคพณ ทับทิมen_US
dc.contributor.authorอัจฉรา นิลเขียวen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 23, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2559), 20-32en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/23_3/3Kasama.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66508-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความคุม้ค่าทางเศรษฐศาสตร์ในการลงทุนผลิตกระแสไฟฟ้าจากขยะมูลฝอยด้วย เทคโนโลยีหลุมฝังกลบแบบถูกสุขาภิบาลและเทคโนโลยีการผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจากเชื้อเพลิงขยะแข็ง โดยพิจารณาจากมูลค่า ปัจจุบันสุทธิ (NPV) อัตราผลตอบแทนภายใน (IRR) อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุน (B/C Ratio) และระยะเวลาคืนทุน (PB) สำหรับระยะเวลาการดำเนินโครงการ 25 ปีในการศึกษาต้นทุนเพื่อผลิตไฟฟ้าจากปริมาณขยะมูลฝอย 85 ตันต่อวัน พบว่า โรงไฟฟ้าสำหรับกรณีการผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจากเชื้อเพลิงขยะแข็งมีราคา 159,333,000 บาท ในขณะที่โรงไฟฟ้า หลุมฝังกลบมีต้นทุนเท่ากับ 75,790,627 บาท โดยปริมาณการผลิตกระแสไฟฟ้าจากเทคโนโลยีการผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจาก เชื้อเพลิงขยะแขง็จะมีค่าคงที่ 955 kW ในขณะที่กระแสไฟฟ้าที่ได้จากการฝังกลบจะมีการเปลี่ยนแปลงต้งัแต่ 149 kW ไป จนถึง 545 kW จากการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์พบว่าเทคโนโลยีผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจากขยะแข็งให้ผลตอบแทนที่สูงกว่า โดยมีมูลค่าปัจจุบันสุทธิเท่ากับ 238,130,898 บาท อัตราผลตอบแทนภายในเท่ากับ 24.01% และต้นทุนต่อหน่วย 4.89 บาทต่อหน่วย ในส่วนเทคโนโลยีหลุมฝังกลบแบบถูกสุขาภิบาลมีผลตอบแทนการลงทุนคือ มูลค่าปัจจุบันสุทธิเท่ากับ 123,644,379 บาท อัตราผลตอบแทนภายในเท่ากับ 17.65% และต้นทุนต่อหน่วย 3.26 บาทต่อหน่วย โดยสามารถสรุปได้ว่า โครงการผลิตกระแสไฟฟ้าจากขยะทั้ง 2 โครงการมีความคุ้มค่าแก่การลงทุนen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์สำหรับการผลิตไฟฟ้าจากขยะมูลฝอยด้วยเทคโนโลยีหลุมฝังกลบและเทคโนโลยีการผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจากเชื้อเพลิงขยะแข็งen_US
dc.title.alternativeAn Economic Analysis of Electricity Generation from MSW Landfill Gas and MSW-RDF Gasification Technologiesen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.