Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66505
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปุณณวิทย์ หาญไพบูลย์ | en_US |
dc.contributor.author | สมเกียรติ งามประเสริฐสิทธิ์ | en_US |
dc.contributor.author | เรืองวิทย์ สว่างแก้ว | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:29Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:29Z | - |
dc.date.issued | 2559 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 23, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2559), 44-55 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9695 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/23_3/5Poonnawit.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66505 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | ชีวมวลประเภทลิกโนเซลลูโลสเป็นแหล่งของวัตถุดิบที่น่าสนใจสำหรับการผลิตเอทานอล เนื่องจากหาง่ายและเกิดทดแทนใหม่ได้ แต่ปัจจัยทางด้านองค์ประกอบและลักษณะโครงสร้างทางกายภาพและเคมีเป็นตัวขัดขวางการเปลี่ยนเป็นน้ำตาลของเซลลูโลสในชีวมวล ดังนั้นชีวมวลจึงต้องผ่านการปรับสภาพเบื้องต้นเพื่อเพิ่มความสามารถในการเปลี่ยนเซลลูโลสเป็นน้ำตาลด้วยเอนไซม์งานวิจัยนี้ศึกษาการปรับสภาพเบื้องต้นของชีวมวลด้วยน้ำภาวะใต้วิกฤตในเครื่องปฏิกรณ์แบบต่อเนื่อง ชีวมวลหลักที่ใช้ในงานวิจัยคือฟางข้าว เพื่อให้สารป้อนสามารถไหลผ่านเครื่องปฏิกรณ์ได้อย่างต่อเนื่องจึงต้องเติมกากมันสำปะหลังลงไปในสารป้อนด้วย ตัวแปรที่ศึกษาได่แก่อุณหภูมิการปรับสภาพเบื้องต้น (120 และ 140 องศาเซลเซียส) และความถี่ของกระแสไฟฟ้าที่ให้กับมอเตอร์ของปั๊ม (5 และ 10 เฮิร์ต) ซึ่งสัมพันธ์กับอัตราการไหลของสารป้อน ตัวอย่างที่ผ่านการปรับสภาพทั้งหมดจะนำไปเปลี่ยนเป็นน้ำตาลด้วยเอนไซม์เซลลูเลส ผลการปรับสภาพเบื้องต้นในเครื่องปฏิกรณ์แบบต่อเนื่องพิจารณาจากปัจจัยที่ศึกษาแสดงให้เห็นว่าอุณหภูมิเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดต่อประสิทธิภาพของการปรับสภาพเบื้องต้นสัดส่วนของเซลลูโลสในชีวมวลภายหลงัการปรับสภาพเพิ่มมากข้ึนเนื่องจากการ สลายตัวออกมาของเฮมิเซลลูโลสและแป้งระหว่างการปรับสภาพเบื้องต้น ตัวยับยั้งปริมาณเล็กน้อยที่พบในของเหลว ภายหลังการปรับสภาพไม่ส่งผลต่อกระบวนการย่อยด้วยเอนไซม์และการหมักเอทานอลร้อยละผลได้ของกลูโคสทั้งหมดมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อนำชีวมวลที่ผ่านการปรับสภาพที่อุณหภูมิสูงมาเปลี่ยนเป็นน้ำตาล การย่อยชีวมวลที่ผ่านการปรับสภาพที่อุณหภูมิ 140 องศาเซลเซียส และความถี่ของกระแสไฟฟ้าที่ป้อนให้มอเตอร์ของปั๊ม 10 เฮิร์ต ค่าร้อยละผลได้ของกลูโคสทั้งหมดสูงกว่าการย่อยฟางขา้วที่ไม่ผ่านการปรับสภาพและการย่อยชีวมวลผสมระหว่างฟางข้าวและกากมันสำปะหลังที่ไม่ผ่านการปรับสภาพประมาณ 2.5 และ 1.5 เท่าตามลำดับ | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ชีวมวลประเภทลิกโนเซลลูโลส | en_US |
dc.subject | เอทานอล | en_US |
dc.subject | การปรับสภาพเบื้องต้น | en_US |
dc.subject | น้ำภาวะใต้วิกฤต | en_US |
dc.subject | เซลลูโลส | en_US |
dc.title | การปรับสภาพเบื้องต้นแบบต่อเนื่องของฟางข้าวและกากมันสำปะหลังด้วยน้ำภาวะใต้วิกฤต | en_US |
dc.title.alternative | Continuous Pretreatment of Rice Straw and Cassava Waste by Subcritical Water | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.