Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66495
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนิวัฒน์ มูเก็มen_US
dc.contributor.authorปิยะวรรณ สูนาสวนen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 24, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2560), 110-118en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/24_1/10.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66495-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractในงานวิจัยศึกษาการต่อวัสดุต่างชนิดระหว่างอลูมิเนียม 1100 และเหล็กเคลือบสังกะสีโดยการแล่นประสานแบบมิก ศึกษาผลกระทบของตัวแปรในการแล่นประสาน (ความเร็วในการแล่นประสาน (A), กระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการแล่นประสาน (B), อัตราการป้อนโลหะเติม (C), ระยะห่างระหว่างชิ้นงานกับหัวทอร์ช (D) และมุมที่ใช้ในการแล่นประสาน (E)) ทั้ง 5 ปัจจยักบัการทดลองซ้า 3 คร้ัง มีทั้งหมด 48 การทดลอง เมื่อออกแบบการทดลองแบบเศษส่วนเชิงแฟกทอเรียลที่สองระดับ ผลจากการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) แสดงให้เห็นถึง ผลกระทบหลักและผลกระทบร่วมของปัจจัย ควบคุมที่มีผลต่อความต้านทานแรงเฉือน โดยพบปัจจัยหลัก A และ B เทอมปัจจัยร่วมพบ B*C, B*D และ D*E มี ผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญกับความต้านทานแรงเฉือน ผลจากการวิเคราะห์ทางโลหะวิทยาแสดงให้เห็นเฟสสารประกอบเชิง โลหะ Fe2Al9Si2 มีโครงสร้างผลึกแบบโมโนคลินิกเกิดขึ้นที่ระหว่างโลหะเติมและโลหะพื้นเหล็กเคลือบสังกะสีขณะที่ ระหว่างพื้นผิวโลหะเติมและโลหะพื้นอลูมิเนียมไม่พบชั้น สารประกอบเชิงโลหะen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการต่อวัสดุต่างชนิดen_US
dc.subjectอลูมิเนียมen_US
dc.subjectเหล็กเคลือบสังกะสีen_US
dc.subjectการแล่นประสานแบบมิกen_US
dc.titleการต่อวัสดุต่างชนิดระหว่างอลูมิเนียม 1100 และเหล็กเคลือบสังกะสีโดยการแล่นประสานแบบมิกen_US
dc.title.alternativeDissimilar materials joint between aluminum 1100 and zinc galvanized steel by MIG brazingen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.