Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66487
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorฉัตรชัย นิมมลen_US
dc.contributor.authorอนุชา หิรัญวัฒน์en_US
dc.contributor.authorกิตติ สถาพรประสาธน์en_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 24, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2560), 45-59en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/24_1/05.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66487-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการอบแห้งกากถัวเหลือง โดยงานวิจัยนี้ได้ใช้กากถัวเหลืองซึ่งมีความชื้นเริ่มต้นประมาณ 288 ถึง 342%(d.b.) เป็นวัสดุทดสอบการทดลองอบแห้งแบ่งออกเป็นสองส่วนกล่าวคือ การอบแห้ง 1 รอบ และการอบแห้ง 2 รอบ อัตราการระเหยน้ำเชิงปริมาตร สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนเชิงปริมาตร และความสิ้นเปลืองพลังงานจําเพาะของระบบการอบแห้งที่เงื่อนไขการอบแห้งต่าง ๆ ได้ถูกประเมิน การทดลองกระทําที่อุณหภูมิอบแห้ง 100, 130 และ 150oC และอัตราการป้อนกากถัวเหลือง 15, 30 และ 45 kgdry solid/h จากการศึกษาพบว่าความชื้นต่ำที่สุดของกากถัวเหลืองที่ได้จากการอบแห้งมีค่าประมาณ 23.7% (d.b.) ในกรณีของการอบแห้งรอบที่ 1 พบว่าอัตราการระเหยน้ำเชิงปริมาตรและสัมประสิทธิการถ่ายเทความร้อนเชิงปริมาตรเพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิอบแห้งและอัตราการป้อน กากถัวเหลืองส่วนในกรณีของการอบแห้งรอบที่ 2 พบว่าอัตราการระเหยน้ำเชิงปริมาตรและสัมประสิทธิการถ่ายเทความร้อนเชิงปริมาตรเพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของอัตราการป้อนกากถัวเหลือง แต่อุณหภูมิอบแห้งไม่ส่งผลอย่างมีนัยสําคัญต่ออัตราการระเหยน้ำเชิงปริมาตรและสัมประสิทธิการถ่ายเทความร้อนเชิงปริมาตร เมื่อพิจารณาความสิ้นเปลืองพลังงานจําเพาะรวม (SECTotal) ของกระบวนการอบแห้งซึ่งคํานวณจากพลังงานรวมที่ใช้ในการอบแห้งและปริมาณความชื้นรวมที่ ระเหยออกจากกากถัวเหลืองที่ผ่านการอบแห้งทั้งสองรอบ พบว่าSECTotal ลดลงเมื่ออุณหภูมิอบแห้งและอัตราการป้อนกาก ถัวเหลืองเพิ่มขึ้นอย่างไรก็ตาม ที่อัตราการป้อนกากถัวเหลืองต่ำที่สุดที่ใช้ในงานวิจัย (15 kgdry solid/h) SECTotal เพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิอบแห้งen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleสมรรถนะและประสิทธิภาพการใช้พลังงานของเครื่องอบแห้งแบบกระแสชนสำหรับกากถั่วเหลืองen_US
dc.title.alternativePerformance and Energy Efficiency of an Impinging Stream Dryer for Okaraen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.