Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66483
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอิศเรศ ธุชกัลยาen_US
dc.contributor.authorพัชรินทร์ แซ่จันen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 24, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2560), 101-113en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/24_2/10.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66483-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ทำการออกแบบสร้างและทดสอบเครื่องทำความเย็นเทอร์โมอะคูสติกที่ขับเคลื่อนโดยเครื่องยนต์ เทอร์โมอะคูสติกแบบลดหลั่นหลายขั้น โดยเครื่องต้นแบบนี้ถูกออกแบบอยู่บนเงื่อนไขของต้นทุนต่ำและใชเ้ทคโนโลยีที่ ไม่ซับซ้อน เพื่อตอบสนองกับความต้องการของชุมชนในถิ่นธุรกันดาร จากแนวคิดดังกล่าว อากาศที่ความดันบรรยากาศจึงถูกเลือกใช้เป็นสารทำงานและใช้ท่อ PVC เป็นท่อรีโซเนเตอร์หลักในระบบ โดยเครื่องต้นแบบประกอบด้วยหน่วยคลื่นนิ่ง หน่วยคลื่นเคลื่อนที่ และเครื่องทำความเย็นเทอร์โมอะคูสติก ซึ่งต่ออนุกรมกันเป็นเส้นตรง และมีท่อรีโซเนเตอร์อยู่ที่ปลายทั้งสองด้านของชุดเทอร์โมอะคูสติกดังกล่าวซึ่งการจัดเรียงลักษณะนี้จะช่วยลดปัญหาเกี่ยวกับstreaming ในงานวิจัยนี้ยังได้ศึกษาถึงความยาวและรัศมีไฮดรอลิกส์ของรีเจนเนอร์เรเตอร์ในเครื่องทำความเย็นที่ระดับพลังงานป้อนเข้าต่าง ๆ ที่มีผลต่อสมรรถนะในการทำความเย็นของระบบ และจากการทดลองพบว่า เครื่องทำความเย็นสามารถสร้างผลต่างของอุณหภูมิ ได้สูงถึง 20.3C และลดอุณหภูมิได้ต่ำถึง 6.7C ในสภาพไม่มีภาระทำความเย็นโดยมีค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะเมื่อเทียบกับคาร์โนต์ (COPR) สูงสุดเท่ากับ 2.9% ที่ภาระทำความเย็น 13 Wen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการออกแบบและทดลองเครื่องทำความเย็นเทอร์โมอะคูสติกแบบคลื่นเคลื่อนที่ต้นทุนต่ำซึ่งขับเคลื่อนโดยเครื่องยนต์เทอร์โมอะคูสติกแบบลดหลั่นหลายขั้นen_US
dc.title.alternativeDesign and Experimental Study of a Low-cost Travelling Wave Thermoacoustic Refrigerator Driven by a Cascade Thermoacoustic Engineen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.