Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66476
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธีระพงษ์ สำราญ | en_US |
dc.contributor.author | ณัฐชา ทวีแสงสกุลไทย | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:29Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:29Z | - |
dc.date.issued | 2560 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 24, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2560), 36-46 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9695 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/24_2/04.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66476 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดของเสียของผลิตภัณฑ์ Cylinder Disc Brake รุ่น Cy/D/B 110 ประเภทขนาด ผิดรูป และประเภททรายตกในโรงงานผลิตเหล็กหล่อชิ้นส่วนยานยนต์โดยประยุกต์ใช้เครื่องมือการแก้ปัญหาในเชิงประดิษฐ์คิดค้นและการใช้เทคนิคการออกแบบการทดลองแบบไชนิน ขั้นตอนการวิจัยแบ่งเป็น 5 ขั้น ตอน ได้แก่ (1) กำหนดปัญหาทำการวิเคราะห์ความผันแปรด้วยแผนภาพความสนใจ (2) หาสาเหตุหลักของปัญหาระดมสมองหาสาเหตุของปัญหาและคัดกรองสาเหตุหลักของปัญหา (3) หาวิธีการแก้ปัญหา ทำการทดลองแบบไชนินโดยการสลับที่ระดับปัจจัยที่ดีที่สุดและแย่ที่สุด ใช้เครื่องมือการแก้ปัญหาในเชิงประดิษฐ์คิดค้นในการช่วยแก้ไขปัญหาที่เกิดข้อขัดแย้งทางเทคนิคเมื่อได้ข้อแนะนำในการแกัปัญหาแล้วจึงนำมาออกแบบแนวคิด จากนั้นคัดเลือกแนวคิดด้วยวิธีการรวมน้ำหนักจากนั้นทำการออกแบบการทดลองเพื่อหาระดับปัจจัยที่เหมาะสมที่สุด (4) นำการแก้ไขปัญหาไปปฏิบัติทำการเปรียบเทียบก่อนและหลังปรุง และ(5) ติดตามควบคุมและประเมินผล ผลการแก้ไขปัญหาพบว่าปัญหาขนาดผิดรูปมีปริมาณข้อบกพร่องก่อนการ ปรับปรุง 9.11% และหลังการปรับปรุง 1.58% มีสัดส่วนลดลง 7.53% และปัญหาทรายตกพบว่ามีปริมาณข้อ บกพร่องก่อนการปรับปรุง 4.95% และหลังการปรับปรุง 0.60% มีสัดส่วนลดลง 4.35% | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การแก้ปัญหาเชิงประดิษฐ์คิดค้น | en_US |
dc.subject | การออกแบบการทดลองไชนิน | en_US |
dc.subject | ของเสีย | en_US |
dc.subject | เหล็กหล่อ | en_US |
dc.title | การลดของเสียในโรงงานผลิตเหล็กหล่อชิ้นส่วนยานยนต์ | en_US |
dc.title.alternative | Defective Reduction in Automotive Iron Part Factory | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.