Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66473
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชลทศ ประเทืองสุขพงษ์en_US
dc.contributor.authorอภิชิต เทอดโยธินen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 24, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2560), 150-160en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/24_3/15.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66473-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractในปัจจุบันมีอาคารเก่าจำนวนมากที่ต้องการลดการใช้พลังงานลงโดยไม่ส่งผลกระทบต่อการใช้งานของคนในอาคาร อาคารที่ทำการศึกษาซึ่งมีอายุกว่า 17 ปีก็มีความต้องการที่จะอนุรักษ์พลังงานโดยมาตรการที่ทางอาคารสนใจคือ การเปลี่ยนเครื่องทำน้ำเย็น อย่างไรก็ตามในปัจจุบันเครื่องทำน้ำเย็นมี 3 ประเภท ได้แก่ Fixed Speed Chiller, Variable Speed Drive Chiller และ Magnetic Bearing Oil Free Chiller ซึ่งทั้ง 3 ประเภท มีค่าประสิทธิภาพ พลังงานและมีราคาที่แตกต่างกัน ทำให้การตัดสินใจในการลงทุนจะต้องพิจารณาอย่างถี่ถ้วนจึงจะได้ความคุ้มค่าทาง เศรษฐศาสตร์มากที่สุด เนื่องจากอาคารที่ทำการศึกษาเป็นอาคารที่ใช้งานมานาน มีลักษณะการใช้งานที่ผิดไปจากเดิมเมื่อ ครั้งออกแบบไว้ค่อนข้างมาก สภาพการใช้งานจึงไม่เหมาะสมกับอุปกรณ์ของอาคาร การจะประเมินผลการประหยัด พลังงานได้อย่างแม่นยำ นั้นจึงต้องรู้สภาพการใช้พลังงานในปัจจุบันเสียก่อน ในการศึกษาครั้งนี้จะทำการตรวจวัดการใช้พลังงาน 7 วัน เพื่อหาสัดส่วนการใช้พลังงาน จากนั้นจึงนำมาคำนวณหาปริมาณการใช้พลังงานของเครื่องทำน้ำ เย็นในอดีต โดยอ้างอิงจากปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าของพื้นที่ทั้งหมดปีของ 2558 ส่วนปริมาณอากาศระบายที่เข้าอาคารจะใช้ วิธีการวัดความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ภายในอาคาร เพื่อนำมาคำนวณหาปริมาณอากาศระบายในแต่ละโซน จากนั้นจะใช้โปรแกรม Energy Plus มาจำลองหาภาระการทำความเย็นในอาคารรายชั่วโมงตลอดปี2558 โดยปรับเทียบ ค่าภาระการทำความเย็นและค่าพลงังานไฟฟ้ารายเดือนที่ได้จากแบบจำลองกับค่าที่ได้จากข้อมูลจริงซึ่งความคลาดเคลื่อนที่ เกิดขึ้นน้อยกว่า เกณฑ์ที่กำหนดไว้10% จึงถือได้ว่าแบบจำลองดังกล่าวเป็นแบบจำลองกรณีฐาน เมื่อวิเคราะห์หาผลการประหยัดพลังงานและความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์จากการเปลี่ยนเครื่องทำน้ำเย็นเป็นชนิดและขนาดที่เหมาะสมตามสมมุติฐานการปรับปรุงทั้ง 4 กรณีผลการศึกษาพบว่า เครื่องทำน้ำเย็นที่ให้ผลการประหยัดพลังงานดีที่สุดในทุกกรณีคือ Magnetic Bearing Chiller, VSD Chiller และ Fixed Speed Chiller ตามลำดับอย่างไรก็ตามเครื่องทำน้ำเย็นที่ให้ระยะเวลาคืนทุนและอัตราผลตอบแทนภายในดีที่สุด คือ Magnetic Bearing Chiller (สำหรับกรณีที่ 1, 3 และ 4) และ VSD Chiller (สำหรับกรณีที่ 2)en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleศักยภาพการประหยัดพลังงานในเครื่องทำน้ำเย็นรูปแบบต่าง ๆ ในอาคารปรับอากาศที่มีอยู่เดิมen_US
dc.title.alternativeEnergy Saving Potential of Various Water Chillers in Existing Air-Conditioner Buildingen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.