Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66470
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เบญจพร อภิวงค์งาม | en_US |
dc.contributor.author | ชนวัฒน์ นิทัศน์วิจิตร | en_US |
dc.contributor.author | จาตุพงศ์ วาฤทธิ์ | en_US |
dc.contributor.author | สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:28Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:28Z | - |
dc.date.issued | 2560 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 24, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2560), 1-10 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9695 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/24_2/01.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66470 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | อุตสาหกรรมอาหารแช่แข็งมีการใช้พลังงานมากขึ้นอย่างต่อเนื่องการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าโดยการประยุกต์ ใช้การจัดการพลังงานทางด้านวิศวกรรมจึงมีความสำคัญ ยิ่งงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อหาแนวทางในการลดค่าไฟฟ้า ในกระบวนการผลิตถั่วแระญี่ปุ่นแช่แข็งโดยการปรับเปลี่ยนเวลาการเดินเครื่องจักรเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้งานพร้อมกัน และ การควบคุมอัตราการผลิตให้มีความสม่ำเสมอ จากผลการศึกษา พบว่าในกรณีศึกษา สามารถย้ายความต้องการพลังไฟฟ้า สูงสุดที่เกิดขึ้นในช่วงเวลา On peak ให้เกิดในช่วงเวลา Off peak แทน ซึ่งลดลง 235.37 kW (27.94%)และปริมาณ การใช้ไฟฟ้าลดลง 2,169.03 kWh (15.24%) สามารถประหยัดค่าไฟฟ้าได้จำนวน 9,416.92 บาท/วัน (23.88%) ส่งผลให้ค่าไฟฟ้าของกระบวนการผลิตในเดือนมิถุนายนและกรกฎาคมปี พ.ศ. 2558 ลดลง 320,323.03 และ 252,216.52 บาท ตามลำดับ ค่าดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าจำเพาะ (SECE) ลดลง 0.030 kWh/kg (17.96%) และ 0.021 kWh/kg (14.09%) ตามลำดับ ค่าไฟฟ้าต่อน้ำหนักผลิตภัณฑ์ลดลง 0.118 บาท/kg (18.04%) และ 0.114 บาท/kg (19.69%) ตามลำดับ โดยเทคนิคดังกล่าวสามารถช่วยให้ค่าไฟฟ้าทั้งหมดของโรงงานในเดือนมิถุนายนและกรกฎาคมลดลง 851,036.33 บาท (13.92%)และ 1,278,702.99 บาท (18.41%) ตามลำดับ เทคนิคดังกล่าว นอกจากจะช่วยลดค่าไฟฟ้า ยังทำให้โรงงานมีประสิทธิภาพการใช้พลังงานดีขึ้น | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | เทคนิคการลดค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้าในกระบวนการผลิตถั่วแระญี่ปุ่นแช่แข็ง | en_US |
dc.title.alternative | Techniques for Reducing Electricity cost in Production of Frozen Green Soybean | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.