Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66468
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวรพงค์ บุญช่วยแทนen_US
dc.contributor.authorชาตรี หอมเขียวen_US
dc.contributor.authorจักรนรินทร์ ฉัตรทองen_US
dc.contributor.authorสุรสิทธิ์ ระวังวงศ์en_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 24, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2560), 112-126en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/24_3/12.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66468-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractบทความนี้ได้ศึกษาอิทธิพลของพารามิเตอร์การเชื่อมเสียดทานแบบกวนของอลูมิเนียมหล่อกึ่งของแข็ง 2024 ที่ส่งผลต่อโครงสร้างและสมบัติทางกลวัสดุที่ใช้ทดลองมีความหนา 4 มิลลิเมตร ความเร็วหมุนเชื่อม 710, 1000 และ 1400 รอบต่อนาทีและความเร็วเดินเชื่อม 80, 112 และ 160 มิลลิเมตรต่อนาทีผลจากการทดลองพบว่าพารามิเตอร์การเชื่อม ส่งผลกระทบให้เกิดความร้อนจากการเสียดทานและการไหลวนของวัสดุในแนวเชื่อมที่แตกต่างกัน ทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงรูปร่างของเกรนในแต่ละบริเวณของแนวเชื่อมและสมบัติทางกลของแนวเชื่อม โดยการหมุนของเครื่องมือเชื่อม ที่สูงขึ้นทำให้เกิดความร้อนที่มากขึ้นที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเกรน และการแตกหักของอนุภาค Al2Cu ค่าความแข็งของรอยเชื่อมมากที่สุดในช่วงบริเวณ TMAZ - SZ ที่ 145.10 Hv ที่ความเร็วหมุนเชื่อม 1400 รอบต่อนาทีความเร็ว เดินเชื่อม 160 มิลลิเมตรต่อนาทีและค่าความแข็งแรงดึงสูงสุดของการทดลองอยู่ที่ความเร็วหมุนเชื่อม 710 รอบต่อนาที ความเร็วเดินเชื่อม 160 มิลลิเมตรต่อนาทีที่ 208.08 MPa โดยค่าความแข็งแรงดึงของรอยเชื่อมทุกสภาวะการทดลองมีค่า ต่ำกว่าค่าความแข็งแรงดึงของเนื้อวัสดุเดิม โดยมีค่าประสิทธิภาพแนวเชื่อมทุกสภาวะการเชื่อมไม่เกิน 80%en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleอิทธิพลของพารามิเตอร์การเชื่อมเสียดทานแบบกวนต่อโครงสร้างและสมบัติทางกลของอลูมิเนียมหล่อกึ่งของแข็ง 2024 รอยเชื่อมแบบต่อชนen_US
dc.title.alternativeInfluence of Friction Stir Welding Parameters on Structure and Mechanical Properties of Aluminum Semi Solid Metal 2024 Butt Welded Jointsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.